ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพศหญิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
W.ญ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''เพศหญิง''' (♀) หรือ'''เพศเมีย''' ({{lang-en|female}}) คือ[[เพศ]]หนึ่งของ[[สิ่งมีชีวิต]] ที่ผลิต[[เซลล์สืบพันธุ์]]ที่เรียกว่า [[เซลล์ไข่]] โดยเซลล์ไข่สามารถรวมกับเซลล์สืบพันธุ์ของ[[เพศชาย]]ที่เรียกว่า [[อสุจิ]] เกิดขั้นตอนที่เรียกว่า[[การผสมพันธุ์]] เพศหญิงไม่สามารถสืบพันธุ์ได้โดยปราศจากการเข้าถึง[[อสุจิ]]ของเพศชายอย่างน้อย 1 เซลล์ แต่สิ่งมีชีวิตบางอย่างสามารถสืบพันธุ์ได้โดยอาศัยการสืบพันธุ์หรือไม่อาศัยการสืบพันธุ์ แต่ละสปีชีส์ไม่ได้มีระบบทางเพศที่เหมือนกัน ในมนุษย์และในสัตว์ส่วนใหญ่ การสืบพันธุ์ถือเป็นกลไกทางพันธุกรรมแต่ในบางสปีชีส์แล้วสามารถเกิดในจากทางด้านสังคม สิ่งแวดล้อมและปัจจัยอื่น
'''เพศหญิง''' (♀) หรือ'''เพศเมีย''' ({{lang-en|female}}) คือ[[เพศ]]หนึ่งของ[[สิ่งมีชีวิต]] ที่ผลิต[[เซลล์สืบพันธุ์]]ที่เรียกว่า [[เซลล์ไข่]] โดยเซลล์ไข่สามารถรวมกับเซลล์สืบพันธุ์ของ[[เพศชาย]]ที่เรียกว่า [[อสุจิ]] เกิดขั้นตอนที่เรียกว่า[[การผสมพันธุ์]] เพศหญิงไม่สามารถสืบพันธุ์ได้โดยปราศจากการเข้าถึง[[อสุจิ]]ของเพศชายอย่างน้อย 1 เซลล์ แต่สิ่งมีชีวิตบางอย่างสามารถสืบพันธุ์ได้โดยอาศัยการสืบพันธุ์หรือไม่อาศัยการสืบพันธุ์ แต่ละสปีชีส์ไม่ได้มีระบบทางเพศที่เหมือนกัน ในมนุษย์และในสัตว์ส่วนใหญ่ การสืบพันธุ์ถือเป็นกลไกทางพันธุกรรมแต่ในบางสปีชีส์แล้วสามารถเกิดในจากทางด้านสังคม สิ่งแวดล้อมและปัจจัยอื่น


**สิทธิสตรี Q.ผู้หญิง
== ดูเพิ่ม ==
* [[ผู้หญิง]]
* [[สตรีภาพ]]

{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|females|เพศหญิง}}

[[หมวดหมู่:เพศ]]
[[หมวดหมู่:เพศภาวะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:19, 18 ตุลาคม 2561

สัญลักษณ์เพศหญิง

เพศหญิง (♀) หรือเพศเมีย (อังกฤษ: female) คือเพศหนึ่งของสิ่งมีชีวิต ที่ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ที่เรียกว่า เซลล์ไข่ โดยเซลล์ไข่สามารถรวมกับเซลล์สืบพันธุ์ของเพศชายที่เรียกว่า อสุจิ เกิดขั้นตอนที่เรียกว่าการผสมพันธุ์ เพศหญิงไม่สามารถสืบพันธุ์ได้โดยปราศจากการเข้าถึงอสุจิของเพศชายอย่างน้อย 1 เซลล์ แต่สิ่งมีชีวิตบางอย่างสามารถสืบพันธุ์ได้โดยอาศัยการสืบพันธุ์หรือไม่อาศัยการสืบพันธุ์ แต่ละสปีชีส์ไม่ได้มีระบบทางเพศที่เหมือนกัน ในมนุษย์และในสัตว์ส่วนใหญ่ การสืบพันธุ์ถือเป็นกลไกทางพันธุกรรมแต่ในบางสปีชีส์แล้วสามารถเกิดในจากทางด้านสังคม สิ่งแวดล้อมและปัจจัยอื่น

    • สิทธิสตรี Q.ผู้หญิง