ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชตวร์มอัพไทลุง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ชตูร์มับไทลุง ไปยัง ชตวร์มอัพไทลุง: ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์เยอรมัน 2561
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
'''ชตวร์มอัพไทลุง''' ({{lang-de|Sturmabteilung}}, {{IPA-de|ˈʃtʊɐ̯mʔapˌtaɪlʊŋ|pron|De-Sturmabteilung.ogg}}; แปลว่า "กองกำลังพายุ") มีชื่อย่อว่า '''เอ็สอา''' ({{lang|de|SA}}) เป็นหน่วยกอง[[กำลังกึ่งทหาร]]เดิมของ[[พรรคนาซี]]
'''ชตวร์มอัพไทลุง''' ({{lang-de|Sturmabteilung}}, {{IPA-de|ˈʃtʊɐ̯mʔapˌtaɪlʊŋ|pron|De-Sturmabteilung.ogg}}; แปลว่า "กองกำลังพายุ") มีชื่อย่อว่า '''เอ็สอา''' ({{lang|de|SA}}) เป็นหน่วยกอง[[กำลังกึ่งทหาร]]เดิมของ[[พรรคนาซี]]


ชตวร์มอัพไทลุงมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ในคริสต์ทศวรรษ 1920–1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น [[ร็อตฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์|สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]] รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่[[ชาวโรมานี]] ผู้นิยม[[สหภาพแรงงาน]] และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ชาวยิว]] เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี
ชตวร์มอัพไทลุงมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ในคริสต์ทศวรรษ 1920–1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น [[ร็อตฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์|สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]] รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ผู้นิยม[[สหภาพแรงงาน]] [[ชาวโรมานี]]หรือยิปซี และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ชาวยิว]] เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี


ชตวร์มอัพไทลุงบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่า "พวกชุดกากี" ({{lang|de|''Braunhemden''}}) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของ[[มุสโสลินี]] ชตวร์มอัพไทลุงมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งต่อมานำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่ม[[ชุทซ์ชตัฟเฟิล]] ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มชตวร์มอัพไทลุงก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เนื่องจากได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารที่ถูกส่งไปประจำการในอาณานิคมแอฟริกาของเยอรมนี
ชตวร์มอัพไทลุงบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่า "พวกชุดกากี" ({{lang|de|''Braunhemden''}}) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของ[[มุสโสลินี]] ชตวร์มอัพไทลุงมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งต่อมานำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่ม[[ชุทซ์ชตัฟเฟิล]] ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มชตวร์มอัพไทลุงก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เนื่องจากได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารที่ถูกส่งไปประจำการในอาณานิคมแอฟริกาของเยอรมนี

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:43, 12 ตุลาคม 2561

ชตวร์มอัพไทลุง
ตราสัญลักษณ์ของชตวร์มอัพไทลุง
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้งค.ศ. 1920
ยุบเลิก8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
หน่วยงานสืบทอด
ประเภทกำลังกึ่งทหาร
เขตอำนาจ นาซีเยอรมนี
สำนักงานใหญ่มิวนิก ประเทศเยอรมนี
48°8′37.53″N 11°34′6.76″E / 48.1437583°N 11.5685444°E / 48.1437583; 11.5685444
ต้นสังกัด พรรคนาซี
หน่วยงานลูกสังกัด

ชตวร์มอัพไทลุง (เยอรมัน: Sturmabteilung, ออกเสียง: [ˈʃtʊɐ̯mʔapˌtaɪlʊŋ] ( ฟังเสียง); แปลว่า "กองกำลังพายุ") มีชื่อย่อว่า เอ็สอา (SA) เป็นหน่วยกองกำลังกึ่งทหารเดิมของพรรคนาซี

ชตวร์มอัพไทลุงมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในคริสต์ทศวรรษ 1920–1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดงของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ผู้นิยมสหภาพแรงงาน ชาวโรมานีหรือยิปซี และโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวยิว เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี

ชตวร์มอัพไทลุงบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่า "พวกชุดกากี" ([Braunhemden] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของมุสโสลินี ชตวร์มอัพไทลุงมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งต่อมานำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่มชุทซ์ชตัฟเฟิล ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มชตวร์มอัพไทลุงก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เนื่องจากได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารที่ถูกส่งไปประจำการในอาณานิคมแอฟริกาของเยอรมนี

ชตวร์มอัพไทลุงสูญเสียอำนาจหลังจากฮิตเลอร์สั่งให้มีการฆ่าล้างอย่างโหดเหี้ยมในเหตุการณ์คืนมีดยาว และถูกแทนที่โดยชุทซ์ชตัฟเฟิล แต่ชตวร์มอัพไทลุงก็ยังไม่ถูกเลิกถาวรจนกระทั่วอาณาจักรไรช์ที่ 3 ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรใน ค.ศ. 1945

อ้างอิง

  • Bullock, Alan (1958). Hitler: A Study in Tyranny. New York: Harper.
  • Kershaw, Ian (2008). Hitler: A Biography. New York: W. W. Norton & Company. ISBN 978-0-393-06757-6.
  • Littlejohn, David (1990). The Sturmabteilung: Hitler's Stormtroopers 1921 – 1945. Osprey Publishing, London.
  • Manchester, William (2003). The Arms of Krupp, 1587–1968: The Rise and Fall of the Industrial Dynasty That Armed Germany at War. Back Bay, ISBN 0-316-52940-0.
  • McNab, Chris (2009). The SS: 1923–1945. Amber Books Ltd. ISBN 1-906626-49-9.
  • McNab, Chris (2011). Hitler's Masterplan: The Essential Facts and Figures for Hitler's Third Reich. Amber Books Ltd. ISBN 978-1907446962.
  • McNab, Chris (2013). Hitler's Elite: The SS 1939–45. Osprey Publishing. ISBN 978-1-78200-088-4.
  • Toland, John (1976). Adolf Hitler. Garden City, New York: Doubleday & Company. ISBN 0-385-03724-4.
  • Wheeler-Bennett, John (2005) [1967]. The Nemesis of Power. London: Macmillan. ISBN 978-1-4039-1812-3.
  • Yerger, Mark C. (1997). Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS. Schiffer Publishing Ltd. ISBN 0-7643-0145-4.