ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
แปลข้อมูลจาก website ภาษาอังกฤษ และเติมข้อมูล
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
| MeshID = D007562
| MeshID = D007562
}}
}}
'''โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ''' ({{lang-en|Creutzfeldt-Jakob disease, CJB}}) เป็นโรคเสื่อมที่เกิดกับ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]]ชนิดหนึ่ง ยังไม่มีหนทางรักษา ถือเป็นโรคสมองเป็นรูพรุนที่สามารถติดต่อได้ (transmissable spongiform encephalopathy) ที่พบบ่อยที่สุดใน[[มนุษย์]] เกิดจาก[[โปรตีนพรีออน]]ซึ่งเป็น[[โปรตีน]]ที่มีคุณสมบัติพิเศษสามารถติดต่อและทำให้เกิดโรคได้
'''โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ''' ({{lang-en|Creutzfeldt-Jakob disease, CJD}}) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบเจอได้ยาก และนับว่าเป็นโรคสมองเป็นรูพรุนที่สามารถติดต่อได้ (Transmissible spongiform encephalopathy) โรคนี้ถูกกล่าวครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมัน Hans Gerhard Creutzfeldt ในปีพ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) และต่อมาโดย Alfons Maria Jakob อาการที่พบในระยะแรกมีลักษณะคล้าย[[ภาวะสมองเสื่อม]] เช่นการสูญเสียความจำ การเปลื่ยนแปลงทางพฤติกรรม มีความบกพร่องทางการจัดการเคลื่อนไหวและการมองเห็น ส่วนใหญ่อาการของโรคจะเกิดขึ้นในคนอายุ 60 ปีขึ้นไป และร้อยละ 70 เสียชีวิต 1 ปีหลังได้รับการวินิจฉัย <ref name=":0">[https://www.ninds.nih.gov/Disorders/Patient-Caregiver-Education/Fact-Sheets/Creutzfeldt-Jakob-Disease-Fact-Sheet "Creutzfeldt–Jakob Disease Fact Sheet | National Institute of Neurological Disorders and Stroke".] </ref>


สาเหตุของโรคเกิดจาก[[โปรตีนพรีออน]] ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนโครงสร้างของโปรตีนปกติให้เป็นรูปแบบก่อโรค ลักษณะของโรคจะแบ่งออกเป็นสามประเภทคือ
โรคนี้ไม่ใช่โรคเดียวกันกับ[[โรควัวบ้า]] (boline spongiform encephalopathy)

1. Sporadic CJฺD โรคที่เกิดขึ้นเอง โดยผู้ป่วยไม่ได้มีประวัติการติดเชื้อ หรืออยู่ในจุดเสี่ยงของการติดเชื้อ พบเจอในร้อยละ 85 ของผู้ป่วย

2. Hereditary CJD โรคติดต่อทางพันธุกรรม พบเจอในร้อยละ 10-15 ของผู้ป่วยในประเทศสหรัฐอเมริกา

3. Acquired CJD โรคติดต่อโดยการสัมผัสเนื้อเยื้อสมองหรือประสาทจากผู้ป่วยอื่น พบเจอในร้อยล่ะ ต่ำกว่า 1 ของผู้ป่วย<ref name=":0" />

ณ ตอนนี้ยังไม่มีหนทางรักษาโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ มีเพียงแต่ยาระงับปวด เช่น [[โอปิออยด์]] และยากันชัก เช่น [[คโลนะเซแพม]] ที่สามารถบรรเทาอาการของโรคนี้ได้ โรคนี้ไม่ใช่โรคเดียวกันกับ[[โรควัวบ้า]] (boline spongiform encephalopathy) <ref name=":0" />

== อ้างอิง ==
{{Prion diseases}}
{{Prion diseases}}
{{Mental and behavioural disorders|selected = neurological}}
{{Mental and behavioural disorders|selected = neurological}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:02, 5 ตุลาคม 2561

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ
(Creutzfeldt-Jakob disease)
Tonsil biopsy in variant CJD. Prion Protein immunostaining.
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10A81.0, F02.1
ICD-9046.1
OMIM123400
DiseasesDB3166
eMedicineneuro/725
MeSHD007562

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ (อังกฤษ: Creutzfeldt-Jakob disease, CJD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบเจอได้ยาก และนับว่าเป็นโรคสมองเป็นรูพรุนที่สามารถติดต่อได้ (Transmissible spongiform encephalopathy) โรคนี้ถูกกล่าวครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมัน Hans Gerhard Creutzfeldt ในปีพ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) และต่อมาโดย Alfons Maria Jakob อาการที่พบในระยะแรกมีลักษณะคล้ายภาวะสมองเสื่อม เช่นการสูญเสียความจำ การเปลื่ยนแปลงทางพฤติกรรม มีความบกพร่องทางการจัดการเคลื่อนไหวและการมองเห็น ส่วนใหญ่อาการของโรคจะเกิดขึ้นในคนอายุ 60 ปีขึ้นไป และร้อยละ 70 เสียชีวิต 1 ปีหลังได้รับการวินิจฉัย [1]

สาเหตุของโรคเกิดจากโปรตีนพรีออน ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนโครงสร้างของโปรตีนปกติให้เป็นรูปแบบก่อโรค ลักษณะของโรคจะแบ่งออกเป็นสามประเภทคือ

1. Sporadic CJฺD โรคที่เกิดขึ้นเอง โดยผู้ป่วยไม่ได้มีประวัติการติดเชื้อ หรืออยู่ในจุดเสี่ยงของการติดเชื้อ พบเจอในร้อยละ 85 ของผู้ป่วย

2. Hereditary CJD โรคติดต่อทางพันธุกรรม พบเจอในร้อยละ 10-15 ของผู้ป่วยในประเทศสหรัฐอเมริกา

3. Acquired CJD โรคติดต่อโดยการสัมผัสเนื้อเยื้อสมองหรือประสาทจากผู้ป่วยอื่น พบเจอในร้อยล่ะ ต่ำกว่า 1 ของผู้ป่วย[1]

ณ ตอนนี้ยังไม่มีหนทางรักษาโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ มีเพียงแต่ยาระงับปวด เช่น โอปิออยด์ และยากันชัก เช่น คโลนะเซแพม ที่สามารถบรรเทาอาการของโรคนี้ได้ โรคนี้ไม่ใช่โรคเดียวกันกับโรควัวบ้า (boline spongiform encephalopathy) [1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 "Creutzfeldt–Jakob Disease Fact Sheet | National Institute of Neurological Disorders and Stroke".