ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยฟุตซอลเอฟเอคัพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox football league
{{Infobox football league
| current = ยูเมะพลัส / สตาร์ท พลัส ซิงค์ / เบรกเกอร์ ฟุตซอล เอฟเอ คัพ
| current = [[เอไอเอส ฟุตซอล เอฟเอคัพ 2561]]
| logo = Thai fa cup logo.png
| logo = Thai fa cup logo.png
| pixels =
| pixels =
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| relegation = ไม่มี
| relegation = ไม่มี
| levels =
| levels =
| champions = [[สโมสรฟุตซอลชลบุรีบลูเวฟ|ชลบุรี บลูเวฟ]]
| champions = [[สโมสรฟุตซอลกรุงเทพมหานคร|แบงค็อก บีทีเอส]]
| season = 2015
| season = 2017
| most successful club = [[สโมสรฟุตซอลชลบุรีบลูเวฟ|ชลบุรี บลูเวฟ]] (4 สมัย)
| most successful club = [[สโมสรฟุตซอลชลบุรีบลูเวฟ|ชลบุรี บลูเวฟ]] (4 สมัย)
| website = http://www.karnmaneenetwork.com/futsal/ <br/> http://www.futsaltpl.com
| website = http://www.karnmaneenetwork.com/futsal/ <br/> http://www.futsaltpl.com
| current = [[เอไอเอส ฟุตซอล เอฟเอคัพ 2560]]
}}
}}


บรรทัด 24: บรรทัด 23:
ลักษณะการแข่งขันของเอฟเอคัพ จะมีการให้ทีมฟุตซอลระดับขาจร หรือทีมฟุตซอลที่ยังไม่ได้มีการทำทีมแบบจริงจัง มาแข่งแบบแพ้คัดออกก่อน เพื่อหาทีมที่ดีที่สุด 16 ทีมพบกับอีก 16 ทีมจาก[[ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก]]ต่อไปจนกว่าจะหาผู้ชนะเพียงหนึ่งทีม
ลักษณะการแข่งขันของเอฟเอคัพ จะมีการให้ทีมฟุตซอลระดับขาจร หรือทีมฟุตซอลที่ยังไม่ได้มีการทำทีมแบบจริงจัง มาแข่งแบบแพ้คัดออกก่อน เพื่อหาทีมที่ดีที่สุด 16 ทีมพบกับอีก 16 ทีมจาก[[ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก]]ต่อไปจนกว่าจะหาผู้ชนะเพียงหนึ่งทีม


== ผลการแข่งขันในแต่ละครั้งที่ผ่านมา ==
== ผลการแข่งขันในแต่ละปี ==
{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"
|-
|-
!scope=col|ปี
!scope=col|ปี
!scope=col|ชนะเลิศ
!scope=col|ชนะเลิศ
!scope=col class="unsortable"|ผลการแข่งขัน
!scope=col class="unsortable"|ผลการแข่งขัน
!scope=col|รองชนะเลิศ
!scope=col|รองชนะเลิศ
!scope=col|สนาม
!scope=col|สนาม
|-style="background: #DFE6EF;"
|-style="background: #DFE6EF;"
บรรทัด 65: บรรทัด 64:
|-
|-
!scope=row style=text-align:center| [[เอไอเอส ฟุตซอล เอฟเอคัพ 2560|2560]]
!scope=row style=text-align:center| [[เอไอเอส ฟุตซอล เอฟเอคัพ 2560|2560]]
| [[สโมสรฟุตซอลกรุงเทพมหานคร|แบงค็อก บีทีเอส]]
| [[สโมสรฟุตซอลกรุงเทพมหานคร|แบงค็อก บีทีเอส]]
|align=center| ชนะจุดโทษ 9-8 (ในเวลาเสมอ 1-1)
|align=center| ชนะจุดโทษ 9-8 (ในเวลาเสมอ 1-1)
| [[กรมทางหลวง]]
| [[กรมทางหลวง]]
| [[แฟชั่นไอส์แลนด์|แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา]]
| [[แฟชั่นไอส์แลนด์|แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา]]
|-
!2561
!
!
!
!
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:49, 28 กันยายน 2561

ไทยฟุตซอลเอฟเอคัพ
ไฟล์:Thai fa cup logo.png
ก่อตั้งพ.ศ. 2553
ประเทศไทย ไทย
เลื่อนชั้นสู่ไม่มี
ตกชั้นสู่ไม่มี
ทีมชนะเลิศปัจจุบันแบงค็อก บีทีเอส
(2017)
ชนะเลิศมากที่สุดชลบุรี บลูเวฟ (4 สมัย)
เว็บไซต์http://www.karnmaneenetwork.com/futsal/
http://www.futsaltpl.com
ปัจจุบัน: เอไอเอส ฟุตซอล เอฟเอคัพ 2561

ฟุตซอลเอฟเอคัพ (Futsal FA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตซอลในประเทศไทย โดยมีเป็นการแข่งขันแบบแพ้คัดออก เริ่มจัดขึ้นมาใน พ.ศ. 2553 ภายใต้ชื่อ "ยูเมะพลัส ฟุตซอล เอฟเอคัพ"

ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 นี้นั้น ทางสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย (ในพระบรมราชูปถัมภ์) ได้มอบหมายให้ทาง บริษัท กานต์มณี เน็ตเวิร์ค จำกัด เป็นผู้รับสิทธิ์จัดการแข่งขันแต่เพียงผู้เดียว โดยจะเริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เป็นต้นไป

ลักษณะการแข่งขันของเอฟเอคัพ จะมีการให้ทีมฟุตซอลระดับขาจร หรือทีมฟุตซอลที่ยังไม่ได้มีการทำทีมแบบจริงจัง มาแข่งแบบแพ้คัดออกก่อน เพื่อหาทีมที่ดีที่สุด 16 ทีมพบกับอีก 16 ทีมจากไทยแลนด์ฟุตซอลลีกต่อไปจนกว่าจะหาผู้ชนะเพียงหนึ่งทีม

ผลการแข่งขันในแต่ละปี

ปี ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ สนาม
2553 ธอส. อาร์แบค ชนะจุดโทษ 8-7 (ในเวลาเสมอ 4-4) การท่าเรือฯ เอ็มซีซี ฮอลล์ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน
2554 ธอส. อาร์แบค 5-4 ราชนาวี เอ็มซีซี ฮอลล์ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน
2555–2556 ราชนาวี 4-1 แคท เอฟซี แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา
2557 ชลบุรี บลูเวฟ 3-2 แบงค็อก เอฟซี แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา
2558 ชลบุรี บลูเวฟ 3-2 การท่าเรือฯ แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา
2560 แบงค็อก บีทีเอส ชนะจุดโทษ 9-8 (ในเวลาเสมอ 1-1) กรมทางหลวง แฟชั่นไอส์แลนด์ รามอินทรา
2561

อ้างอิง