ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยฮันเนิส กูเทินแบร์ค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| occupation = ช่างแกะลาย, ช่างพิมพ์, นักประดิษฐ์
| occupation = ช่างแกะลาย, ช่างพิมพ์, นักประดิษฐ์
}}
}}
'''โยฮันเนิส เก็นส์ไฟลช์ ซัวร์ ลาเดิน ซุม กูเทินแบร์ค''' ({{lang-de|Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg}}; ประมาณ ค.ศ. 1400<ref>{{harvnb|Childress|2008|p=14}}</ref> –3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468) เป็นช่างเหล็ก ช่างทอง ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์[[ชาวเยอรมัน]] มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยี[[การพิมพ์]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และ[[แท่นพิมพ์]]แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำ[[ไวน์]]
'''โยฮันเนิส เก็นส์ไฟลช์ ซัวร์ ลาเดิน ซุม กูเทินแบร์ค''' ({{lang-de|Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg}}; ประมาณ ค.ศ. 1400<ref>{{harvnb|Childress|2008|p=14}}</ref> – 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468) เป็นช่างเหล็ก ช่างทอง ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์[[ชาวเยอรมัน]] มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยี[[การพิมพ์]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และ[[แท่นพิมพ์]]แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำ[[ไวน์]]


กูเทินแบร์คได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วใน[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]ของยุโรป
กูเทินแบร์คได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วใน[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]ของยุโรป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:12, 22 กันยายน 2561

โยฮันเนิส กูเทินแบร์ค
เกิดประมาณ ค.ศ. 1400
ไมนทซ์ รัฐผู้คัดเลือกไมนทซ์ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เสียชีวิต3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468 (ประมาณ 68 ปี)
ไมนทซ์ รัฐผู้คัดเลือกไมนทซ์ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
อาชีพช่างแกะลาย, ช่างพิมพ์, นักประดิษฐ์

โยฮันเนิส เก็นส์ไฟลช์ ซัวร์ ลาเดิน ซุม กูเทินแบร์ค (เยอรมัน: Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg; ประมาณ ค.ศ. 1400[1] – 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468) เป็นช่างเหล็ก ช่างทอง ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และแท่นพิมพ์แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำไวน์

กูเทินแบร์คได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป

กูเทินแบร์คเกิดที่เมืองไมนทซ์ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเยอรมนี) เป็นบุตรชายของพ่อค้าชื่อ ฟรีเลอ เก็นส์ไฟลช์ ซัวร์ ลาเดิน (Friele Gensfleisch zur Laden) ซึ่งต่อมาได้รับเอาชื่อ "ซุม กูเทินแบร์ค" (zum Gutenberg) ซึ่งเป็นชื่อบริเวณที่ครอบครัวของเขาย้ายเข้าไปอยู่อาศัย มาใช้เป็นนามสกุล

อ้างอิง

  1. Childress 2008, p. 14