ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคป็อป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขรหัสเซเว่น
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''เคพอป''' ({{lang-en|K-pop}}) หรือเพลงพอปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจาก[[เกาหลีใต้]] ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น [[เอ็กโซ (วงดนตรี)]] [[บีทีเอส (กลุ่มนักร้อง)|BTS]] [[ทไวซ์]] [[แบล็กพิงก์]] [[บิกแบง (วงดนตรีเกาหลี)|บิกแบง]] [[เรน (นักร้อง)|เรน]] [[เซเว่น (นักร้องเกาหลี)| [[ซูเปอร์จูเนียร์]] [[โซนยอชิแด]] [[ซิสตาร์]] [[ซีเอ็นบลู]] [[มิสเอ]] [[คารา]] [[วันเดอร์เกิลส์]] [[ชายนี่]] [[ก๊อตเซเว่น]] [[ทูพีเอ็ม]] [[เอฟ (เอกซ์)]] [[ที-อาร่า]] [[อินฟินิท]] [[บีสท์ (วงดนตรีเกาหลี)|บีสท์]] [[อีเอกซ์ไอดี]] [[บีเอพี]] [[ซีเครต]] [[โฟร์มินิต]] [[บราวน์อายด์เกิลส์]] [[จีเฟรนด์]] [[เรดเวลเวต (วงดนตรี)]] [[เซเวนทีน (วงดนตรี)|เซเว่นทีน]] [[วอนนาวัน|วอนนาวัน]] [[แอสโตร]] [[บีทูบี]] นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น [[จีน]] [[ญี่ปุ่น]] [[ไต้หวัน]] [[ฮ่องกง]] [[ฟิลิปปินส์]] [[ไทย]] และประเทศอื่นใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบ[[ทวีปอเมริกาใต้]]ด้วย อาทิเช่น [[อาร์เจนตินา]] [[บราซิล]] [[ชิลี]] เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ใน[[กระแสเกาหลี]] ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของ[[ชาวเอเชีย]]
'''เคพอป''' ({{lang-en|K-pop}}) หรือเพลงพอปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจาก[[เกาหลีใต้]] ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น [[เอ็กโซ (วงดนตรี)]] [[บีทีเอส (กลุ่มนักร้อง)|BTS]] [[ทไวซ์]] [[แบล็กพิงก์]] [[บิกแบง (วงดนตรีเกาหลี)|บิกแบง]] [[เรน(นักร้อง)|เรน]] [[เซเว่น (นักร้องเกาหลี)|เซเว่น]] [[ซูเปอร์จูเนียร์]] [[โซนยอชิแด]] [[ซิสตาร์]] [[ซีเอ็นบลู]] [[มิสเอ]] [[คารา]] [[วันเดอร์เกิลส์]] [[ชายนี่]] [[ก๊อตเซเว่น]] [[ทูพีเอ็ม]] [[เอฟ (เอกซ์)]] [[ที-อาร่า]] [[อินฟินิท]] [[บีสท์ (วงดนตรีเกาหลี)|บีสท์]] [[อีเอกซ์ไอดี]] [[บีเอพี]] [[ซีเครต]] [[โฟร์มินิต]] [[บราวน์อายด์เกิลส์]] [[จีเฟรนด์]] [[เรดเวลเวต (วงดนตรี)]] [[เซเวนทีน (วงดนตรี)|เซเว่นทีน]] [[วอนนาวัน|วอนนาวัน]] [[แอสโตร]] [[บีทูบี]] นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น [[จีน]] [[ญี่ปุ่น]] [[ไต้หวัน]] [[ฮ่องกง]] [[ฟิลิปปินส์]] [[ไทย]] และประเทศอื่นใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบ[[ทวีปอเมริกาใต้]]ด้วย อาทิเช่น [[อาร์เจนตินา]] [[บราซิล]] [[ชิลี]] เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ใน[[กระแสเกาหลี]] ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของ[[ชาวเอเชีย]]


ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคพอปให้เป็น[[ไอดอลเกาหลีใต้ |ไอดอล]] ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคพอปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน <ref>{{cite web|url= https://www.youtube.com/watch?v=hlRGFJtwYN0|title=T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป|publisher=ไทยพีบีเอส |date=2013-04-21 |accessdate=2015-10-16}}</ref>
ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคพอปให้เป็น[[ไอดอลเกาหลีใต้ |ไอดอล]] ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคพอปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน <ref>{{cite web|url= https://www.youtube.com/watch?v=hlRGFJtwYN0|title=T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป|publisher=ไทยพีบีเอส |date=2013-04-21 |accessdate=2015-10-16}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:28, 19 กันยายน 2561

เคพอป (อังกฤษ: K-pop) หรือเพลงพอปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจากเกาหลีใต้ ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น เอ็กโซ (วงดนตรี) BTS ทไวซ์ แบล็กพิงก์ บิกแบง เรน เซเว่น ซูเปอร์จูเนียร์ โซนยอชิแด ซิสตาร์ ซีเอ็นบลู มิสเอ คารา วันเดอร์เกิลส์ ชายนี่ ก๊อตเซเว่น ทูพีเอ็ม เอฟ (เอกซ์) ที-อาร่า อินฟินิท บีสท์ อีเอกซ์ไอดี บีเอพี ซีเครต โฟร์มินิต บราวน์อายด์เกิลส์ จีเฟรนด์ เรดเวลเวต (วงดนตรี) เซเว่นทีน วอนนาวัน แอสโตร บีทูบี นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง ฟิลิปปินส์ ไทย และประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบทวีปอเมริกาใต้ด้วย อาทิเช่น อาร์เจนตินา บราซิล ชิลี เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ในกระแสเกาหลี ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของชาวเอเชีย

ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคพอปให้เป็นไอดอล ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคพอปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน [1]

อ้างอิง

  1. "T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป". ไทยพีบีเอส. 2013-04-21. สืบค้นเมื่อ 2015-10-16.