ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชักเย่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{infobox sport | image = irish_600kg_euro_chap_2009.JPG | imagesize = 300px | caption = | union = [[สหพันธ์ชักเย่อนานาชาติ]...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| union = [[สหพันธ์ชักเย่อนานาชาติ]]
| union = [[สหพันธ์ชักเย่อนานาชาติ]]
| nickname = TOW
| nickname = TOW
| first = Ancient
| first = ยุคก่อน
| registered =
| registered =
| clubs =
| clubs =
| contact = [[Contact sport#Non-contact|Non-contact]]
| contact = [[Contact sport#Non-contact|ไม่สัมผัส]]
| team = แปด คน (หรือมากกว่านี้)
| team = Eight (or more)
| mgender =ฝั่งสี่คน แยกกันคนละฝั่ง
| mgender = mix 4+4 and separate
| category = [[Team sport]], outdoor/indoor
| category = [[ทีมกีฬา]], กลางแจ้ง/ในร่ม
| equipment = เชือกขนาดใหญ่และหนา
| equipment = Rope and boots
| venue =
| venue =
| olympic =เคยอยู่ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในปี 1900 ถึง 1920
| olympic = Part of the Summer Olympic programme from 1900 to 1920
| IWGA = [[1981 World Games|1981]]{{snds}}present
| IWGA = [[1981 World Games|1981]]{{snds}}present
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:46, 15 กันยายน 2561

ชักเย่อ
สมาพันธ์สูงสุดสหพันธ์ชักเย่อนานาชาติ
ชื่ออื่นTOW
เล่นครั้งแรกยุคก่อน
ลักษณะเฉพาะ
การปะทะไม่สัมผัส
ผู้เล่นในทีมแปด คน (หรือมากกว่านี้)
แข่งรวมชายหญิงฝั่งสี่คน แยกกันคนละฝั่ง
หมวดหมู่ทีมกีฬา, กลางแจ้ง/ในร่ม
อุปกรณ์เชือกขนาดใหญ่และหนา
จัดแข่งขัน
โอลิมปิกเคยอยู่ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในปี 1900 ถึง 1920
เวิลด์เกมส์1981แม่แบบ:Sndspresent

ชักเย่อ (อังกฤษ: Tug of war) ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย แต่ละฝ่ายจะมีจำนวนเท่า ๆ กันหรือกำลังพอ ๆ กัน มักใช้เชือกขนาดพอกำรอบ ยาวพอที่จะให้ผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่ายเรียงแถวจับได้ โดยมีที่ว่างระหว่างกลางเหลือไว้ประมาณ 2 เมตร กลางเชือกคาดด้วยผ้าหรือใช้สีป้ายเป็นเครื่องหมายไว้ วางกึ่งกลางเชือกไว้บนพื้นที่ที่มีเส้นขีดกลางเป็นเส้นแบ่งเขตแดน เมื่อกรรมการให้สัญญาณ ผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่าย ต่างก็จะพยายามดึงเชือกให้กึ่งกลางของเชือกเข้ามาในแดนของตนถ้าฝ่ายใดสามารถดึงกึ่งกลางเชือกเข้ามาในแดนของตนได้ ถือว่าชนะตามปรกติจะแข่งกัน 3 ครั้ง ฝ่ายที่ชนะ 2 ใน 3 ครั้งถือว่าชนะเด็ดขาด[1]

อ้างอิง

  1. พจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2555