ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโทสเกเลตัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:FluorescentCells.jpg|thumb|right|300px|ระบบเส้นใยในยูคาริโอต สีแดงคือไมโครฟิลาเมนต์, สีเขียวคือไมโครทูบูล และสีน้ำเงินคือนิวเคลียส]]
[[ไฟล์:FluorescentCells.jpg|thumb|right|300px|ระบบเส้นใยในยูคาริโอต สีแดงคือไมโครฟิลาเมนต์, สีเขียวคือไมโครทูบูล และสีน้ำเงินคือนิวเคลียส]]
'''ระบบเส้นใยภายในเซลล์''' (cytoskeleton) เป็น[[โปรตีน]]ขนาดเล็กที่มารวมตัวกันเป็นเส้นใย ซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนที่และการรวมตัวของเซลล์เป็น[[เนื้อเยื่อ]] พบในยูคาริโอตเท่านั้น
'''ระบบเส้นใยภายในเซลล์โง่ๆ'' (cytoskeleton) เป็น[[โปรตีน]]ขนาดเล็กที่มารวมตัวกันเป็นเส้นใยโง่ๆ ซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนที่และการรวมตัวของเซลล์โง่ๆเป็น[[เนื้อเยื่อ]] พบในยูคาริโอตเท่านั้น


== ระบบของยูคาริโอต ==
== ระบบของยูคาริโอต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:23, 17 สิงหาคม 2561

ระบบเส้นใยในยูคาริโอต สีแดงคือไมโครฟิลาเมนต์, สีเขียวคือไมโครทูบูล และสีน้ำเงินคือนิวเคลียส

'ระบบเส้นใยภายในเซลล์โง่ๆ (cytoskeleton) เป็นโปรตีนขนาดเล็กที่มารวมตัวกันเป็นเส้นใยโง่ๆ ซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนที่และการรวมตัวของเซลล์โง่ๆเป็นเนื้อเยื่อ พบในยูคาริโอตเท่านั้น

ระบบของยูคาริโอต

ในยูคาริโอต ระบบเส้นใยมีหลายชนิดได้แก่

  • อินเทอร์มีเดียท ฟิลาเมนท์ (intermediate filament) มีหน่วยย่อยเป็น โปรตีนไอเอฟ (IF protein) ซึ่งมีต่างๆกันถึง 6 ชนิด เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 - 12 nm พบเฉพาะในเซลล์ที่รวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อหรืออยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และตรึงเยื่อหุ้มเซลล์ให้อยู่ตัว และยังมีบทบาทในการสื่อสารระหว่างเซลล์ด้วย
  • ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament) หรือเรียกว่าแอกตินฟิลาเมนต์ (actin filament) มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการควบคุมทิศทางการไหลของไซโทพลาสซึม รวมทั้งการเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoeboid movement) และการเกิดเท้าเทียม (pseudopodia) ในเซลล์บางชนิด เส้นผ่านศูนย์กลางราว 7 nm มีหน่วยย่อยเป็นโปรตีนแอกติน (actin) ซึ่งมารวมตัวเป็นเส้นยาวสองเส้นพันเกลียวกัน
  • ไมโครทิวบูล (microtubule) มีหน่วยย่อยเป็นโปรตีนทิวบูลิน (tubulin) ซึ่งจะเรียงตัวกันเป็นทรงกระบอก เส้นผ่านศูนย์กลาง 25 nm (ช่องข้างใน = 15nm) ทรงกระบอกอันหนึ่งประกอบด้วยเส้นใยย่อยที่เรียกว่าโปรโตฟิลาเมนต์ (protofilament) 13 เส้น ไมโครทิวบูลเป็นองค์ประกอบภายในซิเลีย แฟลเจลลา และเซนตริโอล
    • ซิเลีย (cilia) เป็นเส้นใยขนาดสั้น ประกอบด้วยการจัดตัวของไมโครทิวบูลเป็น 9+2 คือมีไมโครทิวบูลอยู่รอบๆ 9 อัน อยู่ตรงกลาง 2 อัน เป็นโครงสร้างที่ช่วยให้วัตถุต่างๆเคลื่อนไปบนผิวของเนื้อเยื่อ มีหลายเส้น
    • แฟลกเจลลา (flagella) เป็นเส้นใยขนาดยาว ช่วยให้เซลล์เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ประกอบด้วยการจัดตัวของไมโครทิวบูลเป็น 9+2 เช่นเดียวกับซิเลีย แต่มีจำนวนเส้นต่อเซลล์น้อยกว่า
    • เซนทริโอล (centriole) เป็นไมโครทิวบูลที่จัดตัวแบบ 9+0 คือไม่มีไมโครทิวบูลที่อยู่ตรงกลาง พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีบทบาทในการแบ่งเซลล์ โดยเป็นจุดเริ่มของการสร้างสายไมโครทิวบูลไปจับกับโครโมโซม เพื่อดึงให้โครโมโซมเคลื่อนที่

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น