ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอสัมผัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}


'''จอสัมผัส''' เป็นคุณลักษณะหนึ่งคล้ายกับ[[แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์]] โดยผู้ใช้สามารถสัมผัสบนจอของเครื่อง เพื่อที่จะสั่งการและทำงานต่าง ๆ ได้ เดิมทีจอสัมผัสสามารถรับคำสั่งจากผู้ใช้ได้ทีละหนึ่งจุดคำสั่งแต่ต่อมามีการพัฒนาระบบจอสัมผัสให้สามารถรับคำสั่งแบบลากถูได้ซึ่งคล้ายกับการคลิก[[เมาส์]]ค้างไว้แล้วลากวาง และยังสามารถรับคำสั่งหรือการกดบนหน้าจอจากผู้ใช้ได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า[[มัลติทัช]]
'''จอสัมผัส''' เป็นคุณลักษณะหนึ่งคล้ายกับ[[แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์]] โดยผู้ใช้สามารถสัมผัสบนจอของเครื่อง เพื่อที่จะสั่งการและทำงานต่าง ๆ ได้ เดิมทีจอสัมผัสสามารถรับคำสั่งจากผู้ใช้ได้ทีละหนึ่งจุดคำสั่งแต่ต่อมามีการพัฒนาระบบจอสัมผัสให้สามารถรับคำสั่งแบบ
ากถูได้ซึ่งคล้ายกับการคลิก[[เมาส์]]ค้างไว้แล้วลากวาง และยังสามารถรับคำสั่งหรือการกดบนหน้าจอจากผู้ใช้ได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า[[มัลติทัช]]


คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีหน้าจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ [[HP-150]] วางขายในปี พ.ศ. 2526 และอุปกรณ์พกพาจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ [[IBM Simon|ไอบีเอ็ม ไซมอน]] ซึ่งวางขายในปี พ.ศ. 2537
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีหน้าจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ [[HP-150]] วางขายในปี พ.ศ. 2526 และอุปกรณ์พกพาจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ [[IBM Simon|ไอบีเอ็ม ไซมอน]] ซึ่งวางขายในปี พ.ศ. 2537

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:12, 3 สิงหาคม 2561


จอสัมผัส เป็นคุณลักษณะหนึ่งคล้ายกับแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถสัมผัสบนจอของเครื่อง เพื่อที่จะสั่งการและทำงานต่าง ๆ ได้ เดิมทีจอสัมผัสสามารถรับคำสั่งจากผู้ใช้ได้ทีละหนึ่งจุดคำสั่งแต่ต่อมามีการพัฒนาระบบจอสัมผัสให้สามารถรับคำสั่งแบบล ากถูได้ซึ่งคล้ายกับการคลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากวาง และยังสามารถรับคำสั่งหรือการกดบนหน้าจอจากผู้ใช้ได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามัลติทัช

คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีหน้าจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ HP-150 วางขายในปี พ.ศ. 2526 และอุปกรณ์พกพาจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ ไอบีเอ็ม ไซมอน ซึ่งวางขายในปี พ.ศ. 2537

ในปัจจุบันมีผู้ผลิตมากมายที่ใช้ระบบนี้ เช่น แอปเปิล, เอชทีซี, แอลจี, โมโตโรล่าโมบิลิตี, โนเกีย, ซัมซุง, โซนี่ เป็นต้น