ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรรตุการก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZilentFyld (คุย | ส่วนร่วม)
ZilentFyld (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''กรรตุการก''' ({{lang-en|nominative case}}) คือการกของคำนามหรือวจีวิภาคอื่น ๆ ที่จะมีการบ่งชี้ประธานของคำกริยาหรือนามภาคแสดงหรือคำคุณศัพท์ภาคแสดง โดยทั่วไปแล้ว คำนาม "ที่กระทำบางอย่าง" คือกรรตุการก และกรรตุการกมักจะเป็นรูปที่อยู่ในพจนานุกรม
'''กรรตุการก''' ({{lang-en|nominative case}} อ่านได้ทั้ง ''กันตุการก'' หรือ ''กัดตุการก''<ref name="royin">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 |URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}</ref>) คือการกของคำนามหรือวจีวิภาคอื่น ๆ ที่จะมีการบ่งชี้ประธานของคำกริยาหรือนามภาคแสดงหรือคำคุณศัพท์ภาคแสดง โดยทั่วไปแล้ว คำนาม "ที่กระทำบางอย่าง" คือกรรตุการก และกรรตุการกมักจะเป็นรูปที่อยู่ในพจนานุกรม
== รากศัพท์ ==
== รากศัพท์ ==
กรรตุการกมาจากคำว่า "กรรตุ" รวมกับ "[[การก]]" โดยกรรตุแปลว่าผู้ทํา มาจากภาษาบาลี ''กตฺตุ'' และการก มาจากภาษาบาลี ''การก''<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 |URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}</ref> ซึ่งแปลได้เป็น ''การกของผู้กระทำ''
กรรตุการกมาจากคำว่า "กรรตุ" รวมกับ "[[การก]]" โดยกรรตุแปลว่าผู้ทํา มาจากภาษาบาลี ''กตฺตุ'' และการก มาจากภาษาบาลี ''การก''<ref name="royin"/> ซึ่งแปลได้เป็น ''การกของผู้กระทำ''
== ตัวอย่าง ==
=== คำนาม ===
กรรตุการกบ่งชี้ประธานของกริยา เมื่อกริยามีการกระทำ กรรตุการกคือคนหรือสิ่งของที่กระทำนั้น เมื่อเป็นกริยาอยู่ในรูป[[กรรมวาจก]] กรรตุการกคือคนที่ได้รับการกระทำ
* '''เขา'''เห็นต้นไม้
* '''ต้นไม้'''ถูกเห็นโดยเขา
=== ภาคแสดง ===
ใน[[ประโยค copular]] คือ กรรตุการกใช้ทั้งประธานและภาคแสดง
* '''เขา'''เป็น'''คนดี'''
* '''เขาดี''' (ในภาษาอังกฤษจะมีการเชื่อมด้วย be ซึ่งคำว่าดีซึ่งเป็นคุณศัพท์ภาคแสดงจะถือว่าเป็นกรรตุการกด้วย
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
== ลิงค์อื่น ๆ ==
*[http://www.deutsched.com/Grammar/Lessons/0202nominative.php German nominative case] บทเรียนของกรรตุการกภาษาเยอรมัน
*[http://www.russianlessons.net/grammar/nouns_nominative.php The Nominative Case - Russian Grammar] บทเรียนของกรรตุการกของภาษารัสเซีย


[[หมวดหมู่:การก]]
[[หมวดหมู่:การก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:27, 17 กรกฎาคม 2561

กรรตุการก (อังกฤษ: nominative case อ่านได้ทั้ง กันตุการก หรือ กัดตุการก[1]) คือการกของคำนามหรือวจีวิภาคอื่น ๆ ที่จะมีการบ่งชี้ประธานของคำกริยาหรือนามภาคแสดงหรือคำคุณศัพท์ภาคแสดง โดยทั่วไปแล้ว คำนาม "ที่กระทำบางอย่าง" คือกรรตุการก และกรรตุการกมักจะเป็นรูปที่อยู่ในพจนานุกรม

รากศัพท์

กรรตุการกมาจากคำว่า "กรรตุ" รวมกับ "การก" โดยกรรตุแปลว่าผู้ทํา มาจากภาษาบาลี กตฺตุ และการก มาจากภาษาบาลี การก[1] ซึ่งแปลได้เป็น การกของผู้กระทำ

ตัวอย่าง

คำนาม

กรรตุการกบ่งชี้ประธานของกริยา เมื่อกริยามีการกระทำ กรรตุการกคือคนหรือสิ่งของที่กระทำนั้น เมื่อเป็นกริยาอยู่ในรูปกรรมวาจก กรรตุการกคือคนที่ได้รับการกระทำ

  • เขาเห็นต้นไม้
  • ต้นไม้ถูกเห็นโดยเขา

ภาคแสดง

ในประโยค copular คือ กรรตุการกใช้ทั้งประธานและภาคแสดง

  • เขาเป็นคนดี
  • เขาดี (ในภาษาอังกฤษจะมีการเชื่อมด้วย be ซึ่งคำว่าดีซึ่งเป็นคุณศัพท์ภาคแสดงจะถือว่าเป็นกรรตุการกด้วย

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4

ลิงค์อื่น ๆ