ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยไต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| DorlandsSuf =
| DorlandsSuf =
}}
}}
'''หน่วยไต''' ({{lang-en|nephron}}) เป็นโครงสร้างพื้นฐานและ[[Renal function|หน่วยทำงาน]]พื้นฐานของ[[ไต]] มีหน้าที่หลักคือควบคุม[[homeostasis|สมดุล]]ของสารน้ำและสารต่างๆ ในร่างกาย เช่น[[โซเดียม]] ผ่านการกรอง[[เลือด]]ที่ผ่านหน่วยไต ดูดกลับสารที่ต้องการ และขับสารที่ไม่ต้องการทิ้งผ่านทาง[[ปัสสาวะ]] หน้าที่ของหน่วยไตนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานของร่างกาย ซึ่งจะถูกควบคุมโดย[[Endocrine system|ระบบต่อมไร้ท่อ]]ผ่านทาง[[ฮอร์โมน]]ต่างๆ เช่น [[Vasopressin|ฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ]] [[Aldosterone|อัลโดสเตอโรน]] และ[[Parathyroid hormone|พาราไทรอยด์]] เป็นต้น<ref>{{cite book | last = Maton | first = Anthea | authorlink = | coauthors = Jean Hopkins, Charles William McLaughlin, Susan Johnson, Maryanna Quon Warner, David LaHart, Jill D. Wright | title = Human Biology and Health | publisher = Prentice Hall | year = 1993 | location = Englewood Cliffs, New Jersey, USA | pages = | url = | doi = | id = | isbn = 0-13-981176-1}}</ref>
'''หน่วยไต''' ({{lang-en|nephron}}) เป็นโครงสร้างพื้นฐานและ[[Renal function|หน่วยทำงาน]]พื้นฐานของ[[ไต]] มีหน้าที่หลักคือควบคุม[[homeostasis|สมดุล]]ของสารน้ำและสารต่างๆ ในร่างกาย เช่น[[โซเดียม]] ผ่านการกรอง[[เลือด]]ที่ผ่านหน่วยไต ดูดกลับสารที่ต้องการ และขับสารที่ไม่ต้องการทิ้งผ่านทาง[[ปัสสาวะ]] หน้าที่ของหน่วยไตนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานของร่างกาย ซึ่งจะถูกควบคุ๊มโดย[[Endocrine system|ระบบต่อมไร้ท่อ]]ผ่านทาง[[ฮอร์โมน]]ต่างๆ เช่น [[Vasopressin|ฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ]] [[Aldosterone|อัลโดสเตอโรน]] และ[[Parathyroid hormone|พาราไทรอยด์]] เป็นต้น<ref>{{cite book | last = Maton | first = Anthea | authorlink = | coauthors = Jean Hopkins, Charles William McLaughlin, Susan Johnson, Maryanna Quon Warner, David LaHart, Jill D. Wright | title = Human Biology and Health | publisher = Prentice Hall | year = 1993 | location = Englewood Cliffs, New Jersey, USA | pages = | url = | doi = | id = | isbn = 0-13-981176-1}}</ref>


ไตปกติข้างหนึ่งของมนุษย์จะมีหน่วยไตอยู่ประมาณ 800,000 ถึง 1.5 ล้านหน่วยไต<ref name=guyton11>{{Cite book | author=Guyton, Arthur C.; Hall, John E. | authorlink= | coauthors= | title=Textbook of Medical Physiology | year=2006 | publisher=Elsevier Saunders | location=Philadelphia | isbn=0-7216-0240-1 | page=310}}</ref>
ไตปกติข้างหนึ่งของมนุษย์จะมีหน่วยไตอยู่ประมาณ 800,000 ถึง 1.5 ล้านหน่วยไต<ref name=guyton11>{{Cite book | author=Guyton, Arthur C.; Hall, John E. | authorlink= | coauthors= | title=Textbook of Medical Physiology | year=2006 | publisher=Elsevier Saunders | location=Philadelphia | isbn=0-7216-0240-1 | page=310}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:59, 4 กรกฎาคม 2561

หน่วยไต
(Nephron)
ภาพหน่วยไต(ภนนนนdjjxjcjcjcาพนี้ไม่มีจักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ แอพพาราตัส
รายละเอียด
คัพภกรรมMetanephric blastema (intermediate mesoderm)
ตัวระบุ
ภาษาละตินnephroneum
MeSHD009399
FMA17640
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

หน่วยไต (อังกฤษ: nephron) เป็นโครงสร้างพื้นฐานและหน่วยทำงานพื้นฐานของไต มีหน้าที่หลักคือควบคุมสมดุลของสารน้ำและสารต่างๆ ในร่างกาย เช่นโซเดียม ผ่านการกรองเลือดที่ผ่านหน่วยไต ดูดกลับสารที่ต้องการ และขับสารที่ไม่ต้องการทิ้งผ่านทางปัสสาวะ หน้าที่ของหน่วยไตนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานของร่างกาย ซึ่งจะถูกควบคุ๊มโดยระบบต่อมไร้ท่อผ่านทางฮอร์โมนต่างๆ เช่น ฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ อัลโดสเตอโรน และพาราไทรอยด์ เป็นต้น[1]

ไตปกติข้างหนึ่งของมนุษย์จะมีหน่วยไตอยู่ประมาณ 800,000 ถึง 1.5 ล้านหน่วยไต[2]

กายวิภาค

โครงสร้างของ เนพฟรอน

โกลเมอรูลัส (glomerulus)

เป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยที่นำสารมากรองออก มีลักษณะเป็นร่างแหสานกัน

โบว์แมนแคปซูล

เป็นส่วนของท่อของหลอดไตที่พองเป็นกระเปาะ คล้ายด้าย มีกลาเมอรูลัสอยู่ข้างใน

ท่อของหน่วยไต

อยู่ต่อจากโบว์แมนแคปซูล มี 3 ส่วนใหญ่ๆ

ท่อขดส่วนต้น

เกิดการดูดสารเข้ากระแสเลือดมากที่สุด มีไมโทคอนเดรียเยอะ เพื่อใช้เป็นพลังงานในการดูดสาร

ห่วงเฮนเล

เป็นท่อขนาดเล็กโค้ง เป็นรูปตัวU ใช้ในการดูดสารกลับเช่นกัน มีไมโทรคอนเดรียน้อยกว่าท่อส่วนต้น

ท่อขดส่วนท้าย

มีลักษณะเป็นท่อปิดของกรวยไต มีกรองแล้วส่งไปกระเพาะปัสสาวะ

การทำงาน

การทำงานเกือบทั้งหมดของไตเกิดขึ้นในหน่วยไต หน้าที่เหล่านี้ส่วนใหญ่เกี่ยวข้อกับการดูดซึมกลับ (reabsorption) และการหลั่ง (secretion) ของสารละลายต่างๆ ทั้งไอออน (เช่น โซเดียม), คาร์โบไฮเดรต (เช่น น้ำตาลกลูโคส) และกรดอะมิโน (เช่น กลูตาเมต) คุณสมบัติของเซลล์ที่บุท่อหน่วยไตในตำแหน่งต่างๆ จะมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้นตำแหน่งต่างๆ ของหน่วยไตจึงมีหน้าที่เฉพาะ

อ้างอิง

  1. Maton, Anthea (1993). Human Biology and Health. Englewood Cliffs, New Jersey, USA: Prentice Hall. ISBN 0-13-981176-1. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  2. Guyton, Arthur C.; Hall, John E. (2006). Textbook of Medical Physiology. Philadelphia: Elsevier Saunders. p. 310. ISBN 0-7216-0240-1. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)