ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
พงษ์ศักดิิ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง เกิดในปี พ.ศ. 2449 เป็นโอรสองค์โตในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต กับหม่อมเมฆ ณ ลำปาง
เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง ประสูติในปี พ.ศ. 2449 เป็นโอรสองค์โตในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต กับหม่อมเมฆ ณ ลำปาง


เจ้าบุญสารเสวตร์ ได้รับการศึกษาที่[[โรงเรียนมหาดเล็กหลวง]]เชียงใหม่ และระดับปริญญาที่[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] แต่ยังมิทันได้รับปริญญาก็ต้องออกจากการศึกษา เนื่องจากเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต ถึงแก่พิราลัย ในปี พ.ศ. 2465<ref name="วัดช้างเผือก">[http://www.komchadluek.net/detail/20110831/107700/วัดช้างเผือกจ.ลำปาง.html วัดช้างเผือก จ.ลำปาง]</ref> จึงต้องเดินทางกลับมาจัดการเกี่ยวกับพิธีศพ
เจ้าบุญสารเสวตร์ ได้รับการศึกษาที่[[โรงเรียนมหาดเล็กหลวง]]เชียงใหม่ และระดับปริญญาที่[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] แต่ยังมิทันได้รับปริญญาก็ต้องออกจากการศึกษา เนื่องจากเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต ถึงแก่พิราลัย ในปี พ.ศ. 2465<ref name="วัดช้างเผือก">[http://www.komchadluek.net/detail/20110831/107700/วัดช้างเผือกจ.ลำปาง.html วัดช้างเผือก จ.ลำปาง]</ref> จึงต้องเดินทางกลับมาจัดการเกี่ยวกับพิธีศพ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:07, 29 มิถุนายน 2561

เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง
ประสูติพ.ศ. 2449
ราชวงศ์ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์
พระบิดาเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต
พระมารดาหม่อมเมฆ ณ ลำปาง

เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง เป็นราชบุตรองค์โต ในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์

ประวัติ

เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง ประสูติในปี พ.ศ. 2449 เป็นโอรสองค์โตในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต กับหม่อมเมฆ ณ ลำปาง

เจ้าบุญสารเสวตร์ ได้รับการศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ และระดับปริญญาที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด แต่ยังมิทันได้รับปริญญาก็ต้องออกจากการศึกษา เนื่องจากเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต ถึงแก่พิราลัย ในปี พ.ศ. 2465[1] จึงต้องเดินทางกลับมาจัดการเกี่ยวกับพิธีศพ

การทำงาน

ภายหลังการถึงแก่พิราลัยของเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต ในปี พ.ศ. 2465 เจ้าบุญสารเสวตร์ จึงได้รับหน้าที่เป็นผู้ดำเนินกิจการอุตสาหกรรมป่าไม้ของเจ้าบิดาต่อเนื่องมา จนกระทั่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในกรมทางหลวง ภายใต้การบังคับบัญชาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน โดยได้รับมอบหมายให้เป็นผู้สร้างทางหลวงสายแพร่-น่าน[1]

ลำดับสาแหรก

อ้างอิง