ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 3"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
| 10 || [[พระยามานวราชเสวี|พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา)]] || [[รัฐมนตรี]] ||
| 10 || [[พระยามานวราชเสวี|พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา)]] || [[รัฐมนตรี]] ||
|- style="background:#F08080"
|- style="background:#F08080"
| 11 || [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)]] || [[รัฐมนตรี]]
| 11 || [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)]] || [[รัฐมนตรี]]
| rowspan=4 align=center | มีประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2476]] รัฐมนตรีทั้ง 4 ท่านนี้ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2476]] โดยอ้างเหตุผลว่าได้รับราชการตรากตรำมาครบ 1 ปีแล้วและมีความเจ็บป่วยเนืองๆ
|- style="background:#F08080"
|- style="background:#F08080"
| 12 || [[พระยาทรงสุรเดช|พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)]] || [[รัฐมนตรี]]
| 12 || [[พระยาทรงสุรเดช|พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)]] || [[รัฐมนตรี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 12 ตุลาคม 2550

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476)

ไฟล์:พระยามโนปกรณ์นิติธาดา.jpg
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 3

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

คนที่ รายนาม ตำแหน่ง หมายเหตุ
1 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) นายกรัฐมนตรี
2 พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
3 พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
4 พระยาวงศานุประพัทธ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรพาณิชยการ
5 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
6 พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
7 พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
8 พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) รัฐมนตรี
9 พลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ(วัน จารุภา) รัฐมนตรี
10 พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) รัฐมนตรี
11 พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) รัฐมนตรี มีประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476 รัฐมนตรีทั้ง 4 ท่านนี้ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยอ้างเหตุผลว่าได้รับราชการตรากตรำมาครบ 1 ปีแล้วและมีความเจ็บป่วยเนืองๆ
12 พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) รัฐมนตรี
13 พันเอก พระยาฤทธิ์อัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) รัฐมนตรี
14 พันโท พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) รัฐมนตรี
15 พันตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) รัฐมนตรี
16 นาวาตรี หลวงสินธุสงครามชัย(สินธุ์ กมลนาวิน) รัฐมนตรี
17 นาวาตรี หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย รัฐมนตรี
18 นายประยูร ภมรมนตรี รัฐมนตรี

การแถลงนโยบายของรัฐบาล

คณะรัฐมนตรีคณะนี้ไม่มีการแถลงนโยบาย

การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี

18 มิถุนายน 2476

ลาออก

มีประกาศพระบรมราชโองการว่า

ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2476 โดยอ้างเหตุผลว่าได้รับราชการตรากตรำมาครบ ๑ ปีแล้วและมีความเจ็บป่วยเนืองๆ

แต่งตั้ง

  • นายพลตรี พระยาพิชัยสงคราม (แก๊บ สรโยธิน) เป็นรัฐมนตรี
  • นายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) เป็นรัฐมนตรี

การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลงเพราะมีประกาศให้เปิดสภาผู้แทนราษฎรโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยื่นคำร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญ

อ้างอิง