ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฬิกา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
นาฬิกาดิจิตอล จะแสดงตัวเลขของเวลาปัจจุบัน นาฬิกาดิจิตอลบางรุ่นมีเทคโนโลยีที่สามารถปรับจูนเวลาให้ตรงกับเวลาสากลโดยใช้อินเทอร์เน็ตได้โดยอัตโนมัติแต่ต้องใส่ถ่านและจับเวลาได้
นาฬิกาดิจิตอล จะแสดงตัวเลขของเวลาปัจจุบัน นาฬิกาดิจิตอลบางรุ่นมีเทคโนโลยีที่สามารถปรับจูนเวลาให้ตรงกับเวลาสากลโดยใช้อินเทอร์เน็ตได้โดยอัตโนมัติแต่ต้องใส่ถ่านและจับเวลาได้


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่มอ้างอิง ==
* [[โครโนมิเตอร์]]
* [[นาฬิกาข้อมือ]]
* [[นาฬิกาจับเวลา]]

== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Baillie, G.H., O. Clutton, & C.A. Ilbert. ''Britten’s Old Clocks and Watches and Their Makers'' (7th ed.). Bonanza Books (1956).
* Bolter, David J. ''Turing's Man: Western Culture in the Computer Age''. The University of North Carolina Press, Chapel Hill, N.C. (1984). ISBN 0-8078-4108-0 pbk. Very good, readable summary of the role of "the clock" in its setting the direction of philosophic movement for the "Western World". Cf. picture on p. 25 showing the ''verge'' and ''foliot''. Bolton derived the picture from Macey, p. 20.
* Bruton, Eric. ''The History of Clocks and Watches''. London: Black Cat (1993).
* {{cite book | last = Dohrn-van Rossum | first = Gerhard | others = Trans. Thomas Dunlap | title = History of the Hour: Clocks and Modern Temporal Orders | year = 1996 | publisher = The University of Chicago Press | location = Chicago | isbn = 0226155102}}
* Edey, Winthrop. ''French Clocks''. New York: Walker & Co. (1967).
* Kak, Subhash, Ph.D. Babylonian and Indian Astronomy: Early Connections. February 17, 2003.
* Kumar, Narendra "Science in Ancient India" (2004). ISBN 81-261-2056-8.
* Landes, David S. ''Revolution in Time: Clocks and the Making of the Modern World''. Cambridge: Harvard University Press (1983).
* Landes, David S. ''Clocks & the Wealth of Nations'', [[Daedalus (journal)|Daedalus journal]], Spring 2003.
* Lloyd, Alan H. “Mechanical Timekeepers”, ''A History of Technology,'' Vol. III. Edited by Charles Joseph Singer et al. Oxford: Clarendon Press (1957), pp. 648–675.
* Macey, Samuel L., ''Clocks and the Cosmos: Time in Western Life and Thought'', Archon Books, Hamden, Conn. (1980).
* {{cite book | last = Needham | first = Joseph | authorlink = Joseph Needham | title = Science & Civilisation in China, Vol. 4, Part 2: Mechanical Engineering | origyear = 1965 | year = 2000 | publisher = Cambridge University Press | location = Cambridge | isbn = 0521058031}}
* North, John. ''God's Clockmaker: Richard of Wallingford and the Invention of Time''. London: Hambledon and London (2005).
* Palmer, Brooks. ''The Book of American Clocks'', The Macmillan Co. (1979).
* Robinson, Tom. ''The Longcase Clock''. Suffolk, England: Antique Collector’s Club (1981).
* Smith, Alan. ''The International Dictionary of Clocks''. London: Chancellor Press (1996).
* Tardy. ''French Clocks the World Over''. Part I and II. Translated with the assistance of Alexander Ballantyne. Paris: Tardy (1981).
* Yoder, Joella Gerstmeyer. ''Unrolling Time: Christiaan Huygens and the Mathematization of Nature''. New York: Cambridge University Press (1988).
* Zea, Philip, & Robert Cheney. ''Clock Making in New England – 1725-1825''. Old Sturbridge Village (1992).
*ซูม. ''ตำนานนาฬิกาไทยแลนด์จากมิโด้ถึง "ริชาร์ด มิลด์"'' หน้า 5. ไทยรัฐปีที่ 69 ฉบับที่ 21926 (วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ปีระกา)
{{จบอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|Clocks|นาฬิกา}}
{{Commonscat-inline|Clocks|นาฬิกา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:54, 2 มิถุนายน 2561

นาฬิกาติดผนัง

นาฬิกา (อังกฤษ: Clock) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้บอกเวลา โดยมากจะมีรอบเวลา 12 ชั่วโมง หรือ 24 ชั่วโมง สำหรับนาฬิกาทั่วไป มีเครื่องหมายบอกชั่วโมง นาที หรือวินาที เครื่องมือสำหรับจับเวลาระยะสั้นๆ เรียกว่านาฬิกาจับเวลา เดิมนั้นเป็นอุปกรณ์เชิงกล มีลานหมุนขับเคลื่อนกำลัง และมีเฟืองเป็นตัวทดความเร็วให้ได้รอบที่ต้องการ และใช้เข็มบอกเวลา โดยใช้หน้าปัดเขียนตัวเลขระบุเวลาเอาไว้ ลักษณนามของนาฬิกา เรียกว่า “เรือน” แต่ก็มีนาฬิกาแบบอื่นๆ ซึ่งใช้บอกอีก เช่น นาฬิกาทราย ใช้จับเวลา, นาฬิกากะลา เป็นกะลาเจาะรูใช้จับเวลา โดยการลอยในน้ำ จนกว่าจะจมก็ถือว่าหมดเวลา, นาฬิกาแดด เป็นการตั้งเครื่องมือเพื่อให้สังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ โดยดูจากเงาของเครื่องมือ บางครั้งเราก็มีการบอกเวลาโดยใช้เครื่องมืออื่น ซึ่งไม่ได้เรียกว่าเป็น นาฬิกา เช่น การตีกลองบอกเวลาเพล ของพระสงฆ์, การตีฆ้องบอกเวลาของแขกยาม หรือการยิงปืนบอกเวลา เป็นต้น

ประวัติ

นาฬิกา เป็นหนึ่งในสิ่งประดิษฐ์ที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ สร้างขึ้นมาเพื่อต้องการเครื่องมือบอกเวลาที่ละเอียดกว่าหน่วยธรรมชาติ เช่น เช้า กลางวัน เย็น ข้างขึ้น ข้างแรม ซึ่งก็ได้มีการสร้างอุปกรณ์และพัฒนาเรื่อยมาจนกลายเป็นนาฬิกาที่ใช้กันทุกวันนี้

เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกโบราณ ได้บันทึกไว้ว่าเมื่อ 3,500 ปีก่อน มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือบอกเวลาเป็นครั้งแรก โดยการใช้นาฬิกาแดด

ในประเทศไทย นาฬิกาที่เก่าแก่ที่สุด เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้ากรมอุทกศาสตร์คนแรกพระนิเทศชลที (กัปตันลอฟตัส) จัดทำนาฬิกาแดดประดิษฐานขึ้นที่หน้าอุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และยังคงใช้งานได้จนถึงปัจจุบัน

นาฬิกาแดด

นาฬิกาแดดจะวัดเวลาโดยการดูจากเงาที่เกิดขึ้นจากดวงอาทิตย์ ใช้กันอย่างแพร่หลายในยุคโบราณ ถือเป็นนาฬิกาอย่างแรกของมนุษย์

นาฬิกาดิจิตอล

นาฬิกาดิจิตอล จะแสดงตัวเลขของเวลาปัจจุบัน นาฬิกาดิจิตอลบางรุ่นมีเทคโนโลยีที่สามารถปรับจูนเวลาให้ตรงกับเวลาสากลโดยใช้อินเทอร์เน็ตได้โดยอัตโนมัติแต่ต้องใส่ถ่านและจับเวลาได้

ดูเพิ่มอ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นาฬิกา