ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานวิศุกรรมนฤมาณ"

พิกัด: 13°45′59″N 100°30′24″E / 13.766499°N 100.506725°E / 13.766499; 100.506725
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:BKK Saphan Wisukam Narueman.jpg|thumb|250px|สะพานวิศุกรรมนฤมาณ]]
[[ภาพ:BKK Saphan Wisukam Narueman.jpg|thumb|250px|สะพานวิศุกรรมนฤมาณ]]
'''สะพานวิศุกรรมนฤมาณ''' หรือ '''สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ''' [ชื่อที่สะกดตามป้ายชื่อบนสะพาน] สะพานข้าม[[คลองผดุงกรุงเกษม]]แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงบางขุนพรหม [[เขตพระนคร]] และแขวงดุสิต [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นสะพานเชื่อมระหว่าง[[ถนนนครราชสีมา]]และ[[ถนนประชาธิปไตย]] สะพานวิศสุกรรมนฤมาณเป็นหนึ่งในห้าสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น และได้ชื่อที่คล้องจองกัน คือ [[สะพานเทเวศรนฤมิตร]], สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ, [[สะพานมัฆวานรังสรรค์]], [[สะพานเทวกรรมรังรักษ์]] และ[[สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์]] โดยพระราชเลขานุการซึ่งเชี่ยวชาญ[[ภาษามคธ]] มีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทพยดาทรงสร้าง" ซึ่งในส่วนของสะพานวิศสุกรรมนฤมาณนั้นมีความหมายว่า "สะพานที่[[พระวิสสุกรรม]]ทรงสร้าง"
'''สะพานวิศุกรรมนฤมาณ''' หรือ '''สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ''' [ชื่อที่สะกดตามป้ายชื่อบนสะพาน] สะพานข้าม[[คลองผดุงกรุงเกษม]]แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงบางขุนพรหม [[เขตพระนคร]] และแขวงดุสิต [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นสะพานเชื่อมระหว่าง[[ถนนนครราชสีมา]]และ[[ถนนประชาธิปไตย]] สะพานวิศุกรรมนฤมาณเป็นหนึ่งในห้าสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น และได้ชื่อที่คล้องจองกัน คือ [[สะพานเทเวศรนฤมิตร]], สะพานวิศุกรรมนฤมาณ, [[สะพานมัฆวานรังสรรค์]], [[สะพานเทวกรรมรังรักษ์]] และ[[สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์]] โดยพระราชเลขานุการซึ่งเชี่ยวชาญ[[ภาษามคธ]] มีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทพยดาทรงสร้าง" ซึ่งในส่วนของสะพานวิศุกรรมนฤมาณนั้นมีความหมายว่า "สะพานที่[[พระวิสสุกรรม]]ทรงสร้าง"


สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ เดิมเป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ มีราวสะพานเป็นรูปกรงเหล็กหล่อ ต่อมาได้มีการปรับปรุงใหม่เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดกว้างกว่าเดิม ลักษณะราวสะพานเป็นรูปกรงคอนกรีตโปร่ง มีโค้งออกด้านข้าง ได้รับการบูรณะในปี พ.ศ. 2510<ref>{{cite web|url=https://www.silpa-mag.com/club/news/article_3588|title=“สะพานเทวดานฤมิตร” ปราการป้องกันพระนคร|work=ศิลปวัฒนธรรม|date=2016-10-24|accessdate=2018-03-27}}</ref>
สะพานวิศุกรรมนฤมาณ เดิมเป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ มีราวสะพานเป็นรูปกรงเหล็กหล่อ ต่อมาได้มีการปรับปรุงใหม่เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดกว้างกว่าเดิม ลักษณะราวสะพานเป็นรูปกรงคอนกรีตโปร่ง มีโค้งออกด้านข้าง ได้รับการบูรณะในปี พ.ศ. 2510<ref>{{cite web|url=https://www.silpa-mag.com/club/news/article_3588|title=“สะพานเทวดานฤมิตร” ปราการป้องกันพระนคร|work=ศิลปวัฒนธรรม|date=2016-10-24|accessdate=2018-03-27}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:00, 23 พฤษภาคม 2561

สะพานวิศุกรรมนฤมาณ

สะพานวิศุกรรมนฤมาณ หรือ สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ [ชื่อที่สะกดตามป้ายชื่อบนสะพาน] สะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร และแขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานเชื่อมระหว่างถนนนครราชสีมาและถนนประชาธิปไตย สะพานวิศุกรรมนฤมาณเป็นหนึ่งในห้าสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น และได้ชื่อที่คล้องจองกัน คือ สะพานเทเวศรนฤมิตร, สะพานวิศุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยพระราชเลขานุการซึ่งเชี่ยวชาญภาษามคธ มีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทพยดาทรงสร้าง" ซึ่งในส่วนของสะพานวิศุกรรมนฤมาณนั้นมีความหมายว่า "สะพานที่พระวิสสุกรรมทรงสร้าง"

สะพานวิศุกรรมนฤมาณ เดิมเป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ มีราวสะพานเป็นรูปกรงเหล็กหล่อ ต่อมาได้มีการปรับปรุงใหม่เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดกว้างกว่าเดิม ลักษณะราวสะพานเป็นรูปกรงคอนกรีตโปร่ง มีโค้งออกด้านข้าง ได้รับการบูรณะในปี พ.ศ. 2510[1]

อ้างอิง

  1. ""สะพานเทวดานฤมิตร" ปราการป้องกันพระนคร". ศิลปวัฒนธรรม. 2016-10-24. สืบค้นเมื่อ 2018-03-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′59″N 100°30′24″E / 13.766499°N 100.506725°E / 13.766499; 100.506725