ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
เมื่อการสร้างภาพยนตร์ชุดถูกยกเลิก บรรดาผู้เขียนบทจึงรีบนำบทดั้งเดิมที่เขียนไว้สำหรับสตาร์ เทรค: เฟส 2 มาปรับเปลี่ยนแก้ไขเป็นบทภาพยนตร์เรื่องใหม่รวมทั้งการปรับแต่งยานเอ็นเตอร์ไพรซ์ทั้งภายในและภายนอก [[รอเบิร์ต เฟลตเชอร์]] ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายได้จัดหาชุดเครื่องแบบใหม่ให้กับนักแสดง [[แฮโรลด์ มิเคลสัน]] ผู้ออกแบบการสร้างได้จัดหากองถ่ายทำภาพยนตร์ [[เจอร์รี โกลด์สมิธ]] ได้มาทำเพลงประกอบและเป็นการร่วมงานครั้งแรกของเขากับสตาร์เทรคซึ่งตัวเขาเองได้ออกแบบดนตรีให้กับภาพยนตร์สตาร์เทรคภาคต่าง ๆ จนถึงปีค.ศ. 2002 ดักลัส ทรัมบูลผู้ออกแบบเทคนิคพิเศษได้ถูกขอให้ทำงานอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ภาพยนตร์สามารถออกฉายได้ทันตามกำหนดในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1979 ภาพยนตร์เสร็จสมบูรณ์ไม่กี่วันก่อนออกฉายรอบปฐมฤกษ์ ผู้กำกับไวส์รีบนำฟิล์มต้นฉบับภาพยนตร์ที่เพิ่งเสร็จสมบูรณ์ไปยังงานเปิดตัวใน[[กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.]] แต่ผู้กำกับเองยังรู้สึกว่าภาพยนตร์นี้ยังขาดบางอย่างตามที่เขาได้คิดไว้ว่าจะสร้าง
เมื่อการสร้างภาพยนตร์ชุดถูกยกเลิก บรรดาผู้เขียนบทจึงรีบนำบทดั้งเดิมที่เขียนไว้สำหรับสตาร์ เทรค: เฟส 2 มาปรับเปลี่ยนแก้ไขเป็นบทภาพยนตร์เรื่องใหม่รวมทั้งการปรับแต่งยานเอ็นเตอร์ไพรซ์ทั้งภายในและภายนอก [[รอเบิร์ต เฟลตเชอร์]] ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายได้จัดหาชุดเครื่องแบบใหม่ให้กับนักแสดง [[แฮโรลด์ มิเคลสัน]] ผู้ออกแบบการสร้างได้จัดหากองถ่ายทำภาพยนตร์ [[เจอร์รี โกลด์สมิธ]] ได้มาทำเพลงประกอบและเป็นการร่วมงานครั้งแรกของเขากับสตาร์เทรคซึ่งตัวเขาเองได้ออกแบบดนตรีให้กับภาพยนตร์สตาร์เทรคภาคต่าง ๆ จนถึงปีค.ศ. 2002 ดักลัส ทรัมบูลผู้ออกแบบเทคนิคพิเศษได้ถูกขอให้ทำงานอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ภาพยนตร์สามารถออกฉายได้ทันตามกำหนดในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1979 ภาพยนตร์เสร็จสมบูรณ์ไม่กี่วันก่อนออกฉายรอบปฐมฤกษ์ ผู้กำกับไวส์รีบนำฟิล์มต้นฉบับภาพยนตร์ที่เพิ่งเสร็จสมบูรณ์ไปยังงานเปิดตัวใน[[กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.]] แต่ผู้กำกับเองยังรู้สึกว่าภาพยนตร์นี้ยังขาดบางอย่างตามที่เขาได้คิดไว้ว่าจะสร้าง


ออกฉายที่อเมริกาในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1979 สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง ได้ถูกวิจารณ์อย่างหนักเรื่องฉากแอคชั่นที่มีน้อยมากและใช้เทคนิคพิเศษสิ้นเลืองเกินไป ภาพยนตร์ได้รับรายได้ทั่วโลก 139 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งต่ำกว่ายอดที่พาราเมาต์วางไว้แต่ก็เพียงพอที่จะทำภาพยนตร์ภาคต่อโดยใช้งบสร้างที่ถูกลง รอดเดนเบอรี่ได้ถูกถอดจากการเป็นผู้อำนวยการสร้างในภาพยนตร์ภาคต่อ [[สตาร์เทรค 2 ศึกสลัดอวกาศ]]ในปี ค.ศ. 2001 ผู้กำกับไวส์ได้ทำภาพยนตร์ดีวีดีฉบับพิเศษซึ่งได้ปรับปรุงระบบเสียงใหม่ เพิ่มเติมฉากและใช้คอมพิวเตอร์เทคนิคพิเศษ ซึ่งทำให้ภาพยนตร์นี้เสร็จสมบูรณ์ตามที่ผู้กำกับได้เคยวาดฝันไว้
ออกฉายที่อเมริกาในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1979 สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง ได้ถูกวิจารณ์อย่างหนักเรื่องฉากแอคชั่นที่มีน้อยมากและใช้เทคนิคพิเศษสิ้นเปลืองเกินไป ภาพยนตร์ได้รับรายได้ทั่วโลก 139 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งต่ำกว่ายอดที่พาราเมาต์วางไว้แต่ก็เพียงพอที่จะทำภาพยนตร์ภาคต่อโดยใช้งบสร้างที่ถูกลง รอดเดนเบอรี่ได้ถูกถอดจากการเป็นผู้อำนวยการสร้างในภาพยนตร์ภาคต่อ [[สตาร์เทรค 2 ศึกสลัดอวกาศ]]ในปี ค.ศ. 2001 ผู้กำกับไวส์ได้ทำภาพยนตร์ดีวีดีฉบับพิเศษซึ่งได้ปรับปรุงระบบเสียงใหม่ เพิ่มเติมฉากและใช้คอมพิวเตอร์เทคนิคพิเศษ ซึ่งทำให้ภาพยนตร์นี้เสร็จสมบูรณ์ตามที่ผู้กำกับได้เคยวาดฝันไว้


==นักแสดง==
==นักแสดง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:52, 12 พฤษภาคม 2561

สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง
ใบปิดภาพยนตร์ ออกแบบโดยบ็อบ พีก
กำกับรอเบิร์ต ไวส์
บทภาพยนตร์แฮโรลด์ ลิฟวิงสตัน
เนื้อเรื่องแอลัน ดีน ฟอสเตอร์
สร้างจากสตาร์ เทรค
โดย จีน รอดเดนเบอร์รี
อำนวยการสร้างจีน ร็อดเดนเบร์รี
นักแสดงนำ
กำกับภาพริชาร์ด เอช. ไคลน์
ตัดต่อทอดด์ ซี. แรมซีย์
ดนตรีประกอบเจอร์รี โกลด์สมิธ
ผู้จัดจำหน่ายพาราเมาต์พิกเจอส์
วันฉาย7 ธันวาคม ค.ศ. 1979 (1979-12-07)
ความยาว132 นาที[1]
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ภาษาอังกฤษ
ทุนสร้าง46 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
ทำเงิน139 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[3]

สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง (อังกฤษ: Star Trek: The Motion Picture) เป็นภาพยนตร์แนวนิยายวิทยาศาสตร์ในปีค.ศ. 1979 โดยค่ายพาราเมาต์พิกเจอส์ โดยเป็นภาพยนตร์ลำดับแรกที่สร้างมาจากภาพยนตร์ชุดสตาร์เทรค โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับกลุ่มเมฆต่างดาวลึกลับกำลังมุ่งหน้ามายังโลกและได้ทำลายทุกสิ่งที่มันผ่าน นายพล เจมส์ ที. เคิร์ก (วิลเลียม แชตเนอร์) ได้กลับมาบัญชาการยานอวกาศยูเอสเอสเอนเตอร์ไพรซ์และปฏิบัติภารกิจเพื่อป้องกันโลกจากหายนะรวมทั้งสืบหาว่ากลุ่มเมฆประหลาดนั้นคืออะไร

หลังจากภาพยนตร์ชุดดั้งเดิมได้ถูกยกเลิกออกอากาศในปี ค.ศ. 1969 จีน ร็อดเดนเบร์รี ผู้สร้างสรรค์สตาร์เทรคได้ขอให้ทางพาราเมาต์พิกเจอร์สสร้างสตาร์เทรคเป็นภาพยนตร์ ผู้เขียนบทได้รวมตัวกันเพื่อเขียนบทเป็นภาพยนตร์มหากาพย์ แต่ทางพาราเมาต์ไม่ชอบใจจึงทำให้โครงการภาพยนตร์นี้ถูกยกเลิกไปในปี ค.ศ. 1977 หลังจากนั้นพาราเมาต์ได้วางแผนจะทำสตาร์ เทรคเป็นภาพยนตร์ชุดออกฉายทางโทรทัศน์แทนโดยใช้ชื่อว่า สตาร์ เทรค: เฟส 2 มีกำหนดฉายในปี ค.ศ. 1978 แต่ถูกยกเลิกการสร้างเนื่องจากมียอดผู้ชมไม่ดี ประกอบกับความสำเร็จของภาพยนตร์สตาร์ วอร์สและมนุษย์ต่างโลก ทำให้พาราเมาต์ตัดสินใจพัฒนาไปเป็นการสร้างภาพยนตร์แทน พาราเมาต์ได้เคยประกาศต่อสื่อมวลชนในปีค.ศ. 1950ว่า รอเบิร์ต ไวส์ ผู้กำกับซึ่งได้รับรางวัลอคาเดมี่ อวอร์ดสนั้นอาจต้องใช้ทุน 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐในการพัฒนาเป็นภาพยนตร์เรื่องนี้

เมื่อการสร้างภาพยนตร์ชุดถูกยกเลิก บรรดาผู้เขียนบทจึงรีบนำบทดั้งเดิมที่เขียนไว้สำหรับสตาร์ เทรค: เฟส 2 มาปรับเปลี่ยนแก้ไขเป็นบทภาพยนตร์เรื่องใหม่รวมทั้งการปรับแต่งยานเอ็นเตอร์ไพรซ์ทั้งภายในและภายนอก รอเบิร์ต เฟลตเชอร์ ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายได้จัดหาชุดเครื่องแบบใหม่ให้กับนักแสดง แฮโรลด์ มิเคลสัน ผู้ออกแบบการสร้างได้จัดหากองถ่ายทำภาพยนตร์ เจอร์รี โกลด์สมิธ ได้มาทำเพลงประกอบและเป็นการร่วมงานครั้งแรกของเขากับสตาร์เทรคซึ่งตัวเขาเองได้ออกแบบดนตรีให้กับภาพยนตร์สตาร์เทรคภาคต่าง ๆ จนถึงปีค.ศ. 2002 ดักลัส ทรัมบูลผู้ออกแบบเทคนิคพิเศษได้ถูกขอให้ทำงานอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ภาพยนตร์สามารถออกฉายได้ทันตามกำหนดในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1979 ภาพยนตร์เสร็จสมบูรณ์ไม่กี่วันก่อนออกฉายรอบปฐมฤกษ์ ผู้กำกับไวส์รีบนำฟิล์มต้นฉบับภาพยนตร์ที่เพิ่งเสร็จสมบูรณ์ไปยังงานเปิดตัวในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. แต่ผู้กำกับเองยังรู้สึกว่าภาพยนตร์นี้ยังขาดบางอย่างตามที่เขาได้คิดไว้ว่าจะสร้าง

ออกฉายที่อเมริกาในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1979 สตาร์ เทรค: บทเริ่มต้นแห่งการเดินทาง ได้ถูกวิจารณ์อย่างหนักเรื่องฉากแอคชั่นที่มีน้อยมากและใช้เทคนิคพิเศษสิ้นเปลืองเกินไป ภาพยนตร์ได้รับรายได้ทั่วโลก 139 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งต่ำกว่ายอดที่พาราเมาต์วางไว้แต่ก็เพียงพอที่จะทำภาพยนตร์ภาคต่อโดยใช้งบสร้างที่ถูกลง รอดเดนเบอรี่ได้ถูกถอดจากการเป็นผู้อำนวยการสร้างในภาพยนตร์ภาคต่อ สตาร์เทรค 2 ศึกสลัดอวกาศในปี ค.ศ. 2001 ผู้กำกับไวส์ได้ทำภาพยนตร์ดีวีดีฉบับพิเศษซึ่งได้ปรับปรุงระบบเสียงใหม่ เพิ่มเติมฉากและใช้คอมพิวเตอร์เทคนิคพิเศษ ซึ่งทำให้ภาพยนตร์นี้เสร็จสมบูรณ์ตามที่ผู้กำกับได้เคยวาดฝันไว้

นักแสดง

อ้างอิง

  1. "STAR TREK - THE MOTION PICTURE (U)". British Board of Film Classification. December 6, 1979. สืบค้นเมื่อ February 26, 2013.
  2. name="rioux-240"/
  3. Tiwari, Neha (October 6, 2006). "'Star Trek' movies: Which is best?". CNET Networks. สืบค้นเมื่อ January 2, 2009.
  4. Dillard, 66–71.

แหล่งข้อมูลอื่น