ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอประชุมกองทัพเรือ"

พิกัด: 13°44′48″N 100°29′13″E / 13.746534°N 100.486954°E / 13.746534; 100.486954
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| ขนาด =
| ขนาด =
| รายละเอียดอื่น =
| รายละเอียดอื่น =
| สถาปนิก = '''อาคารและผังบริเวณ'''{{bulleted list|
| สถาปนิก = '''อาคารและผังบริเวณ'''<ref name"detail">[http://www.navyhall.com/?p=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2 ประวัติความเป็นมา หอประชุมกองทัพเรือ], Website:www.navyhall.com/ .สืบค้นเมื่อ 01/05/2561</ref>{{bulleted list|
|ผศ. สุดสวาท ศรีสถาปัตย์
|ผศ. สุดสวาท ศรีสถาปัตย์
|น.อ. ระพี ศรีสุกรี
|น.อ. ระพี ศรีสุกรี
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
|น.อ. ระพี ศรีสุกรี
|น.อ. ระพี ศรีสุกรี
|น.อ.หญิง เอมอร ประภาศิริ
|น.อ.หญิง เอมอร ประภาศิริ
}}
}}<ref name"detail">[http://www.navyhall.com/?p=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2 ประวัติความเป็นมา หอประชุมกองทัพเรือ], Website:www.navyhall.com/ .สืบค้นเมื่อ 01/05/2561</ref>
| วิศวกร =
| วิศวกร =
| ผู้ตกแต่งภายใน =
| ผู้ตกแต่งภายใน =
| สวน = [[เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี]]<ref name"detail"></ref>
| สวน = [[เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี]]
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล =
| รางวัล =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:09, 1 พฤษภาคม 2561

หอประชุมกองทัพเรือ
Royal Thai Navy Convention Center
หอประชุมกองทัพเรือ
แผนที่
ข้อมูลทั่วไป
เมืองแขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
ประเทศไทย
เริ่มสร้างพ.ศ. 2545
ผู้สร้างกองทัพเรือ
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกอาคารและผังบริเวณ[1]
  • ผศ. สุดสวาท ศรีสถาปัตย์
  • น.อ. ระพี ศรีสุกรี
มุขศาลาไทย
  • น.อ. ระพี ศรีสุกรี
  • น.อ.หญิง เอมอร ประภาศิริ
เว็บไซต์

หอประชุมกองทัพเรือ (อังกฤษ: Royal Thai Navy Convention Center) เป็นหอประชุมที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่กรมสารวัตรทหารเรือ และปรับปรุงต่อเติมอาคารราชนาวิกสภา ติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

ประวัติ

ในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2545 กองทัพเรือ ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการก่อสร้างอาคารหอประชุมขนาดใหญ่ ภายในพื้นที่กรมสารวัตรทหารเรือ และปรับปรุงต่อเติมอาคารราชนาวิกสภา เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีภูมิทัศน์ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาที่งดงาม และอยู่ตรงข้ามกับหมู่พระมหาปราสาท และพระบรมมหาราชวัง ซึ่งมีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม เพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับจัดงานเลี้ยงอาหารค่ำ และชมกระบวนเรือพระราชพิธี ของผู้นำเขตเศรษฐกิจ จำนวน 21 ประเทศ และผู้เข้าร่วมประชุมเอเปค 2003 รวมทั้งผู้บริหารภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ

โดยกระทรวงกลาโหมได้อนุมัติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ให้กองทัพเรือดำเนินการว่าจ้าง บริษัท ถิรสิทธิ์ จำกัด ในการก่อสร้างอาคารหอประชุมกองทัพเรือ เป็นเงินจำนวน 305,109,000.03 บาท ซึ่ง กองทัพเรือ ได้มอบอำนาจให้ พลเรือโทพีรศักดิ์ วัชรมูล ผู้ช่วยเสนาธิการทหารเรือ ฝ่ายยุทธบริการ (ในขณะนั้น) เป็นผู้แทนกองทัพเรือในการลงนามในสัญญาจ้างก่อสร้างดังกล่าว เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 และเริ่มงานก่อสร้างใน วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 รวมทั้ง ได้มีการวางศิลาฤกษ์อาคาร ในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (ในขณะนั้น) เป็นประธานในพิธี

ไฟล์:Politic11.jpg
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระนามในขณะนั้น) เสด็จแทนพระองค์ไปทรงทำรัฐพิธีเปิดประชุมสมัชชาแห่งชาติ ณ หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2549

กิจกรรมที่จัดในหอประชุมกองทัพเรือที่ผ่านมา

การเดินทาง

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

  • "หอประชุมกองทัพเรือ". สำนักงานเขตบางกอกใหญ่.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′48″N 100°29′13″E / 13.746534°N 100.486954°E / 13.746534; 100.486954

  1. ประวัติความเป็นมา หอประชุมกองทัพเรือ, Website:www.navyhall.com/ .สืบค้นเมื่อ 01/05/2561