ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาอินทวิไชย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
พระยาอินทวิไชย หรือ '''พระญาอินทวิไชยราชา''' มีพระนามเดิมว่า ''เจ้าน้อยอินทวิไชย'' และมีตำแหน่งเดิมเป็น ''ท้าวอินราชา'' หรือ ''พระอินทราชา'' เป็นราชโอรสใน[[พระยาเทพวงศ์]] กับ[[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]] ประสูติที่นครลำปางภายหลังได้มาช่วยราชบิดาทรงงานที่นครนครแพร่ และได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ในปี พ.ศ. 2359 ขณะมีชันษาได้ 35 ปี<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
พระยาอินทวิไชย หรือ '''พระญาอินทวิไชยราชา''' มีพระนามเดิมว่า ''เจ้าน้อยอินทวิไชย'' และมีตำแหน่งเดิมเป็น ''ท้าวอินราชา'' หรือ ''พระอินทราชา'' เป็นราชโอรสใน[[พระยาเทพวงศ์]] กับ[[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]] ประสูติที่นครลำปางภายหลังได้มาช่วยราชบิดาทรงงานที่นครแพร่ และได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ในปี พ.ศ. 2359 ขณะมีชันษาได้ 35 ปี<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>


ในยุคที่พวกยุโรปกำลังล่าเมืองขึ้นและต้องการเมืองไทยเป็นอาณานิคมอังกฤษพยายามอย่างยิ่งที่จะยึดเมืองแพร่ เพราะมีป่าไม้สักที่อุดมสมบูรณ์จำนวนมหาศาล จึงขอเข้าทำกิจการป่าไม้ในเมืองแพร่คือบริษัท อิสต์ เอเชียติก พระยาอินทวิไชย ดำเนินวิทโยบายอย่างสุขมรอบคอบ พยายามมิให้เกิดปัญหาขัดแย้งกับชนต่างชาติ อันเป็นชนวนให้เกิดสงคราม เมืองแพร่จึงอยู่รอดปลอดภัยตลอดมา<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงอินทวิชัย (อินต๊ะวิชัย)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=679:2011-09-04-06-57-18&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date=22 กรกฎาคม 2554 | accessdate = 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
ในยุคที่พวกยุโรปกำลังล่าเมืองขึ้นและต้องการเมืองไทยเป็นอาณานิคมอังกฤษพยายามอย่างยิ่งที่จะยึดเมืองแพร่ เพราะมีป่าไม้สักที่อุดมสมบูรณ์จำนวนมหาศาล จึงขอเข้าทำกิจการป่าไม้ในเมืองแพร่คือบริษัท อิสต์ เอเชียติก พระยาอินทวิไชย ดำเนินวิทโยบายอย่างสุขมรอบคอบ พยายามมิให้เกิดปัญหาขัดแย้งกับชนต่างชาติ อันเป็นชนวนให้เกิดสงคราม เมืองแพร่จึงอยู่รอดปลอดภัยตลอดมา<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงอินทวิชัย (อินต๊ะวิชัย)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=679:2011-09-04-06-57-18&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date=22 กรกฎาคม 2554 | accessdate = 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:30, 22 เมษายน 2561

พระยาอินทวิไชย

เจ้าน้อยอินทวิไชย
พระยานครแพร่
ครองราชย์พ.ศ. 2359พ.ศ. 2390[1]
รัชกาลก่อนหน้าพระยาเทพวงศ์
รัชกาลถัดไปพระยาพิมพิสารราชา
ประสูติพ.ศ. 2324
พิราลัยพ.ศ. 2390
พระชายาแม่เจ้าสุพรรณวดีราชเทวี
พระนามเต็ม
พระองค์สมเด็จพระบรมบัวพิตองค์เปนเจ้า (พระญาอินทวิไชย)
พระบุตร6 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์
พระบิดาพระยาเทพวงศ์
พระมารดาแม่เจ้าสุชาดาราชเทวี
เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่ง
ราชวงศ์แสนซ้าย
*พระยาแสนซ้าย
*พระยาเทพวงศ์
*พระยาอินทวิไชย
พระยาพิมพิสารราชา
เจ้าพิริยเทพวงษ์

พระยาอินทวิไชย[2] หรือ เจ้าหลวงอินต๊ะวิไจย เป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 20 (องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระยาเทพวงศ์ผู้เป็นราชบิดา

พระประวัติ

พระยาอินทวิไชย หรือ พระญาอินทวิไชยราชา มีพระนามเดิมว่า เจ้าน้อยอินทวิไชย และมีตำแหน่งเดิมเป็น ท้าวอินราชา หรือ พระอินทราชา เป็นราชโอรสในพระยาเทพวงศ์ กับแม่เจ้าสุชาดาราชเทวี ประสูติที่นครลำปางภายหลังได้มาช่วยราชบิดาทรงงานที่นครแพร่ และได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ในปี พ.ศ. 2359 ขณะมีชันษาได้ 35 ปี[1]

ในยุคที่พวกยุโรปกำลังล่าเมืองขึ้นและต้องการเมืองไทยเป็นอาณานิคมอังกฤษพยายามอย่างยิ่งที่จะยึดเมืองแพร่ เพราะมีป่าไม้สักที่อุดมสมบูรณ์จำนวนมหาศาล จึงขอเข้าทำกิจการป่าไม้ในเมืองแพร่คือบริษัท อิสต์ เอเชียติก พระยาอินทวิไชย ดำเนินวิทโยบายอย่างสุขมรอบคอบ พยายามมิให้เกิดปัญหาขัดแย้งกับชนต่างชาติ อันเป็นชนวนให้เกิดสงคราม เมืองแพร่จึงอยู่รอดปลอดภัยตลอดมา[3]

พระยาอินทวิไชย ถึงแก่พิราลัยเมื่อปี พ.ศ. 2390 สิริชันษาได้ 66 ปี[4]

ราชโอรส-ธิดา

พระยาอินทวิไชย มีราชโอรส-ธิดา กับแม่เจ้าสุพรรณวดีราชเทวี 6 พระองค์[3]

1.เจ้าหญิงบุญนำ
2.เจ้าน้อยศรวิชัย พบหลักฐานที่วัดพระหลวง สูงเม่น
3.เจ้าหญิงคำมูล
4.เจ้าหญิงน้อง
5.เจ้าหญิงบัวคำ
6.เจ้าหญิงเทียมตา(เตียมตา) เสกสมรสกับเจ้าธรรมปัญโญ

เนื่องจากราชโอรสพระยาอินทวิไชยถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่ยังทรงเยาว์ จึงทำให้ขาดรัชทายาทที่จะขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ พระยาราชวงศ์(พิมพิสาร) โอรสแม่เจ้าปิ่นแก้ว(เจ้าขนิษฐาของพระองค์)กับพระยาวังขวา จึงได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่เป็นพระยาพิมพิสารราชา

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 วรชาติ มีชูบท. เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2556. 428 หน้า. หน้า 20. ISBN 978-616-220-054-0
  2. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2555. 2,136 หน้า. หน้า 1559. ISBN 978-616-7146-30-0
  3. 3.0 3.1 "เจ้าหลวงอินทวิชัย (อินต๊ะวิชัย)". วังฟ่อนดอตคอม. 22 กรกฎาคม 2554. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. ภูเดช แสนสา. เจ้าผู้ครองนครแพร่ยุคประเทศราชของสยาม