ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเอสโตเนีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 97: บรรทัด 97:


=== ศตวรรษที่ 20 และ 21 ===
=== ศตวรรษที่ 20 และ 21 ===
==== การแระกาศเอกราช ====
==== การประกาศเอกราช ====
{{บทความหลัก|(พ.ศ. 2463-2482)|สงครามประกาศเอกราชเอสโตเนีย|ยุคแห่งเสียงเตือน}}
{{บทความหลัก|(พ.ศ. 2463-2482)|สงครามประกาศเอกราชเอสโตเนีย|ยุคแห่งเสียงเตือน}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:10, 22 เมษายน 2561

สาธารณรัฐเอสโตเนีย

Eesti Vabariik (เอสโตเนีย)
คำขวัญไม่มี
ที่ตั้งของเอสโตเนีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ทาลลินน์
ภาษาราชการภาษาเอสโตเนีย
การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
โตมัส เฮนดริก อิลเวส
ตาวี เรยวัส
ได้รับเอกราช
• ประกาศเอกราช
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461
• ยอมรับ
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463
• โซเวียตยึดครอง
16 มิถุนายน พ.ศ. 2483
• ประกาศเอกราชใหม่
20 สิงหาคม พ.ศ. 2534
พื้นที่
• รวม
45,226 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (130)
4.56%
ประชากร
• 2549 ประมาณ
1,324,333 (148)
29.8 ต่อตารางกิโลเมตร (77.2 ต่อตารางไมล์) (144)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 41.202 พันล้าน
$ 31,473
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 25.683 พันล้าน
$ 19,618
จีนี (2557)34.6[1]
ข้อผิดพลาด: ค่าจีนีไม่ถูกต้อง
เอชดีไอ (2559)เพิ่มขึ้น 0.865
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · 30th
สกุลเงินยูโร (€) 2 (EUR ( 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ))
เขตเวลาUTC+2 (EET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+3 (EEST)
รหัสโทรศัพท์372
โดเมนบนสุด.ee

เอสโตเนีย (อังกฤษ: Estonia; เอสโตเนีย: Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (อังกฤษ: Republic of Estonia; เอสโตเนีย: Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป

เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป

ภูมิศาสตร์

ภูมิประเทศ

ภูมิอากาศ

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ยุคกลาง

สมัยใหม่

จักรวรรดิรัสเซีย และ การตื่นรู้แห่งชาติ

ศตวรรษที่ 20 และ 21

การประกาศเอกราช

สงครามโลกครั้งที่ 2

คอมมิวนิสต์โซเวียต

การประการเอกราชครั้งใหม่

การเมืองการปกครอง

บริหาร

นิติบัญญัติ

ตุลาการ

การแบ่งเขตการปกครอง

เทศมณฑลของเอสโตเนีย

สถานการณ์การเมือง

สิทธิมนุษยชน

ต่างประเทศ

การเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป

เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 (ค.ศ. 2004) เอสโตเนียและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มบอลติก คือ ลิทัวเนีย] และ ลัตเวีย พร้อมด้วย สาธารณรัฐเช็ก ไซปรัส ฮังการี มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย และ สโลวาเกีย ได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรปอย่างสมบูรณ์

ก่อนหน้านี้ เอสโตเนียและกลุ่มประเทศบอลติกพยายามที่จะดำเนินการเจรจาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในขั้นตอนต่าง ๆ และการปฏิบัติตามเงื่อนไขของการเข้าเป็นสมาชิกใหม่ให้เสร็จสิ้นลุล่วงในปี 2545 (ค.ศ. 2002) เพื่อที่จะได้มีความพร้อมสำหรับการลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งรัฐสภายุโรปในปี 2547 (ค.ศ. 2004)

การเข้าเป็นสมาชิกองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ

เอสโตเนียได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนาโต ในปี 2545 (ค.ศ. 2002) โดยรัฐบาลดำเนินนโยบายในเชิงรุกเพื่อสร้างความตื่นตัวและความกระตือรือร้นให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการเป็นสมาชิกภาพองค์การนาโต ของลิทัวเนียในด้านต่าง ๆ และจะมีการติดต่อหารืออย่างต่อเนื่องกับประเทศสมาชิกองค์การนาโต เพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของลิทัวเนีย

เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 (ค.ศ. 2003) สมาชิกองค์การนาโต 19 ประเทศ ได้ ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ 7 ประเทศ คือ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย สโลวาเกีย และสโลวีเนีย ที่กรุงบรัสเซลส์ ต่อมา มื่อวันที่ 29 มีนาคม 2547 ประเทศสมาชิกองค์การนาโตใหม่ ทั้ง 7 ประเทศ ได้มอบภาคยานุวัตรสารให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

การพัฒนาสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน

เอสโตเนียให้ความสำคัญแก่การพัฒนาความสัมพันธ์และความเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิดกับโปแลนด์ การแสวงหาความร่วมมือในภูมิภาคยุโรปเหนือกับกลุ่มประเทศแถบทะเลบอลติกและกลุ่มประเทศนอร์ดิก (Nordic) การกระชับความร่วมมือกับรัสเซียโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ พลังงาน การคมนาคมขนส่ง รวมทั้งการขยายความร่วมมือกับเบลารุส และประเทศต่าง ๆ ในแถบทะเลดำ

การดำเนินนโยบายการทูตเชิงเศรษฐกิจและวัฒนธรรม

ลิทัวเนียจะมุ่งเน้นการพัฒนาในการส่งออกและการแสวงหาการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของลิทัวเนีย ขณะเดียวกัน มุ่งเน้นให้ความสำคัญมากขึ้นแก่มิติความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่าง ๆ เพื่อที่จะส่งผลเกื้อกูลต่อการดำเนินนโยบายต่างประเทศของลิทัวเนีย

ความสัมพันธ์กับประเทศไทย

ความสัมพันธ์เอสโตเนีย – ไทย
Map indicating location of เอสโตเนีย and ไทย

เอสโตเนีย

ไทย
  • การเมือง
  • การทูต
  • การค้าและเศรษฐกิจ
  • การศึกษาและวิชาการ
  • การแลกเปลี่ยนการเยือน
ฝ่ายไทย
ฝ่ายเอสโตเนีย

กองทัพ

เศรษฐกิจ

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

คมนาคม และ โทรคมนาคม

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

แม้เอสโตเนียจะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของโซเวียต แต่ในระหว่างนั้นเอสโตเนียก็มีความก้าวหน้าในเรื่องของเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงไม่แปลกใจที่สไกป์ได้ก่อกำเนิดขึ้นที่นี่[2]

การศึกษา

สาธารณสุข

ประชากร

เชื้อชาติ

ภาษา

หลายคนที่มาประเทศกลุ่มบอลติก (ลัตเวีย เอสโตเนีย และลิทัวเนีย) ใหม่ ๆ และไม่มีความรู้ภาษารัสเซีย จะมีปัญหาค่อนข้างเยอะในการพิมพ์ภาษาเหล่านี้ เนื่องจากเป็นภาษาที่คนพูดน้อยและหาคนเรียนยาก อย่างไรก็ตามภาษาในกลุ่มนี้แตกต่างจากภาษารัสเซียโดยสิ้นเชิงทั้งทางการเขียนและไวยากรณ์ (มีบ้างที่ยืมคำมาจากภาษารัสเซีย) ภาษาเอสโตเนียนนั้นจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟินแลนด์ของชาวฟินแลนด์[3]

ศาสนา

กีฬา

ฟุตบอล

วอลเลย์บอล

ฟลอร์บอล

วัฒนธรรม

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรม

ดนตรี

อาหาร

สื่อสารมวชน

วันหยุด

อ้างอิง

  1. "Estonia". World Bank.
  2. Putthiwanit, C., An Analysis of Joseph Schumpeter's Life, Concept of Innovation, and Application for Estonia, British Association for Slavonic and East European Studies International Conference, Fitzwilliam College, University of Cambridge, UK, 2 – 4 April 2016
  3. หรรษาลัตเวีย

แหล่งข้อมูลอื่น