ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทโอซากะ"

พิกัด: 34°41′14″N 135°31′33″E / 34.68722°N 135.52583°E / 34.68722; 135.52583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า ปราสาทโอซะกะ ไปยัง ปราสาทโอซากะ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โอซะกะ" → "โอซากะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| img_capt = ตัวปราสาท
| img_capt = ตัวปราสาท
| img_width = 350px
| img_width = 350px
| name = ปราสาทโอซะกะ
| name = ปราสาทโอซากะ
| pref = 大坂城
| pref = 大坂城
| ar_called = ปราสาททอง (金城)
| ar_called = ปราสาททอง (金城)
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
}}
}}


'''ปราสาทโอซะกะ''' ({{ญี่ปุ่น|大坂城 หรือ 大阪城|Ōsaka-jō}}) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ [[จังหวัดโอซะกะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ใน[[ยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ]]<ref>{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/culture/2007may/01.html |title=Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>
'''ปราสาทโอซากะ''' ({{ญี่ปุ่น|大坂城 หรือ 大阪城}}) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นคร[[โอซากะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ใน[[ยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ]]<ref>{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/culture/2007may/01.html |title=Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>


== ลักษณะเด่น ==
== ลักษณะเด่น ==
ปราสาทโอซะกะมีสิ่งก่อสร้าง 13 อย่างที่รัฐบาลญี่ปุ่นระบุให้เป็นทรัพย์สมบัติสำคัญในทางวัฒนธรรม สิ่งที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ ประตูขนาดใหญ่และและป้อมปราการที่อยู่ตามคูกำแพงเมืองรอบนอก กำแพงสูงชันที่สูงเกือบถึง 30 เมตร นั้นทำมาจากก้อนหินขนาดใหญ่ซึ่งส่งเข้ามาในโอซะกะจากเหมืองที่อยู่ห่างออกไปมากกว่า 100 กิโลเมตร ความสูงของกำแพงและความกว้างของคูกำแพงเมืองที่เห็นนั้นไม่สามารถเทียบได้กับปราสาทอื่นๆในญี่ปุ่นได้เลย
ปราสาทโอซากะมีสิ่งก่อสร้าง 13 อย่างที่รัฐบาลญี่ปุ่นระบุให้เป็นทรัพย์สมบัติสำคัญในทางวัฒนธรรม สิ่งที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ ประตูขนาดใหญ่และและป้อมปราการที่อยู่ตามคูกำแพงเมืองรอบนอก กำแพงสูงชันที่สูงเกือบถึง 30 เมตร นั้นทำมาจากก้อนหินขนาดใหญ่ซึ่งส่งเข้ามาในโอซากะจากเหมืองที่อยู่ห่างออกไปมากกว่า 100 กิโลเมตร ความสูงของกำแพงและความกว้างของคูกำแพงเมืองที่เห็นนั้นไม่สามารถเทียบได้กับปราสาทอื่นๆในญี่ปุ่นได้เลย


สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูป[[ปลาโลมา]]แปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของ[[เสือ]] ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วย[[ทองคำ]]
สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูป[[ปลาโลมา]]แปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของ[[เสือ]] ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วย[[ทองคำ]]


หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี [[พ.ศ. 2540]] การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซะกะ
หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี [[พ.ศ. 2540]] การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซากะ


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในปี ค.ศ. 1583 [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซะกะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจาก[[ปราสาทอะซุชิ]] อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของ[[โอะดะ โนะบุนะงะ]] โทะโยะโตะมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทะโยะโตะมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดะโยะชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดะโยะชิ คือ [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ]]
ในปี ค.ศ. 1583 [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซากะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจาก[[ปราสาทอะซุชิ]] อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของ[[โอะดะ โนะบุนะงะ]] โทะโยะโตะมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทะโยะโตะมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดะโยะชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดะโยะชิ คือ [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ]]


ในปี ค.ศ. 1600 [[โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ]] ปราบศัตรูลงได้ใน[[ยุทธการเซะกิงะฮะระ]]และเริ่มจัดตั้ง[[รัฐบาลบะกุฟุ]]ที่[[เอะโดะ]] ในปี ค.ศ. 1614 โทะกุงะวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดะโยะริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการ[[การล้อมโอซะกะ]]<ref>{{cite news | first=Miki | last=Meek | coauthors= | title=The Siege of Osaka Castle | date= | publisher= | url =http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0312/feature5/zoomify/main.html | work =National Geographic Magazine | pages = | accessdate = 2008-01-22 | language = }}</ref> แม้กองกำลังของโทะโยะโตะมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทะกุงะวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทะกุงะวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้
ในปี ค.ศ. 1600 [[โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ]] ปราบศัตรูลงได้ใน[[ยุทธการเซะกิงะฮะระ]]และเริ่มจัดตั้ง[[รัฐบาลบะกุฟุ]]ที่[[เอะโดะ]] ในปี ค.ศ. 1614 โทะกุงะวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดะโยะริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการ[[การล้อมโอซากะ]]<ref>{{cite news | first=Miki | last=Meek | coauthors= | title=The Siege of Osaka Castle | date= | publisher= | url =http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0312/feature5/zoomify/main.html | work =National Geographic Magazine | pages = | accessdate = 2008-01-22 | language = }}</ref> แม้กองกำลังของโทะโยะโตะมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทะกุงะวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทะกุงะวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้


ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดะโยะริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทะกุงะวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซะกะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทะโยะโตะมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซะกะจึงตกเป็นของโทะกุงะวะ และตระกูลโทะโยะโตะมิก็ถึงคราอวสาน
ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดะโยะริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทะกุงะวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซากะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทะโยะโตะมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซากะจึงตกเป็นของโทะกุงะวะ และตระกูลโทะโยะโตะมิก็ถึงคราอวสาน


ในปี ค.ศ. 1620 [[โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ]] โชกุนคนที่ 2 แห่ง[[ตระกูลโทะกุงะวะ]] เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซะกะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจาก[[ทะเลเซะโตะใน]] และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้
ในปี ค.ศ. 1620 [[โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ]] โชกุนคนที่ 2 แห่ง[[ตระกูลโทะกุงะวะ]] เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซากะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจาก[[ทะเลเซะโตะใน]] และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้


ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา
ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลบะกุฟุต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง
หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลบะกุฟุต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง


ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซะกะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลบะกุฟุ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัย[[การปฏิรูปเมจิ]]
ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซากะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลบะกุฟุ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัย[[การปฏิรูปเมจิ]]


ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก<ref name="autogenerated1">{{cite web|url=http://www.ndl.go.jp/scenery/kansai/e/column/osaka_army_arsenal.html |title=Osaka Army Arsenal |publisher=Ndl.go.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>
ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก<ref name="autogenerated1">{{cite web|url=http://www.ndl.go.jp/scenery/kansai/e/column/osaka_army_arsenal.html |title=Osaka Army Arsenal |publisher=Ndl.go.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>


ในปี ค.ศ. 1928 ได้มีการสร้างหอคอยหลักขึ้นมาใหม่หลังจากที่เทศบาลเมืองโอซะกะสามารถระดมทุนจากประชาชนมาจำนวนมาก
ในปี ค.ศ. 1928 ได้มีการสร้างหอคอยหลักขึ้นมาใหม่หลังจากที่เทศบาลเมืองโอซากะสามารถระดมทุนจากประชาชนมาจำนวนมาก


ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซะกะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซากะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน


ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซะกะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซะกะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอะโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย
ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซากะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซากะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอะโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย


==คลังภาพ==
==คลังภาพ==
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
ไฟล์:OsakaCastle 2007-3.jpg|หอคอยกลาง
ไฟล์:OsakaCastle 2007-3.jpg|หอคอยกลาง
ไฟล์:OsakaCastleOtemonGate.jpg|ประตูโอะเตะมง
ไฟล์:OsakaCastleOtemonGate.jpg|ประตูโอะเตะมง
ไฟล์:Caron1663.jpg|ภาพวาดแสดงความเสียหายของปราสาทโอซะกะ ในหนังสือของฟรองซัวส์ คารอน ในปี ค.ศ. 1663
ไฟล์:Caron1663.jpg|ภาพวาดแสดงความเสียหายของปราสาทโอซากะ ในหนังสือของฟรองซัวส์ คารอน ในปี ค.ศ. 1663
ไฟล์:Mythical Fish (2850634866).jpg|จากหลังคาของหอคอยกลาง ปราสาทโอซะกะ
ไฟล์:Mythical Fish (2850634866).jpg|จากหลังคาของหอคอยกลาง ปราสาทโอซากะ
ไฟล์:大阪城天守閣と梅林 Plum Grove and Osaka Castle.jpg|สวนบ๊วยในอุทยานปราสาทโอซะกะ
ไฟล์:大阪城天守閣と梅林 Plum Grove and Osaka Castle.jpg|สวนบ๊วยในอุทยานปราสาทโอซากะ
</gallery>
</gallery>


บรรทัด 60: บรรทัด 60:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Osaka Castle|ปราสาทโอซะกะ}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Osaka Castle|ปราสาทโอซากะ}}
* [http://www.osakacastle.net/english/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]{{en|icon}}
* [http://www.osakacastle.net/english/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]{{en|icon}}
* [http://www.osaka-info.jp/th/sightseeing/post_6.html ปราสาทโอซะกะ ใน osaka-info.jp] {{th|icon}}
* [http://www.osaka-info.jp/th/sightseeing/post_6.html ปราสาทโอซากะ ใน osaka-info.jp] {{th|icon}}
* [http://www.japanese-castle-explorer.com/castle_profile.html?name=Osaka ข้อมูลปราสาทโอซะกะ ใน Japanese Castle Explorer]
* [http://www.japanese-castle-explorer.com/castle_profile.html?name=Osaka ข้อมูลปราสาทโอซากะ ใน Japanese Castle Explorer]




บรรทัด 70: บรรทัด 70:
{{สร้างปีคศ|1598}}
{{สร้างปีคศ|1598}}
[[หมวดหมู่:ปราสาทญี่ปุ่น|อโซากา]]
[[หมวดหมู่:ปราสาทญี่ปุ่น|อโซากา]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดโอซะกะ]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดโอซากะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:14, 15 เมษายน 2561

logo
logo

ปราสาทโอซากะ
大坂城
ฉายา

ปราสาททอง (金城)

สถาปัตยกรรม

ศิลปะสมัยโทะโยะโตะมิ และ
สมัยโทะงุงะวะ

ผู้สร้าง

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣秀吉)/โทะกุงะวะ อิเอะยะสึ

ปีที่สร้าง

พ.ศ. 2126

ปกครองโดย

ตระกูลโทะโยะโตะมิ ตระกูลโอะกุฮิระ และตระกูลโทะกุงะวะ

ใช้งานถึง

พ.ศ. 2411

ปราสาทโอซากะ (ญี่ปุ่น: 大坂城 หรือ 大阪城) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นครโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ[1]

ลักษณะเด่น

ปราสาทโอซากะมีสิ่งก่อสร้าง 13 อย่างที่รัฐบาลญี่ปุ่นระบุให้เป็นทรัพย์สมบัติสำคัญในทางวัฒนธรรม สิ่งที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ ประตูขนาดใหญ่และและป้อมปราการที่อยู่ตามคูกำแพงเมืองรอบนอก กำแพงสูงชันที่สูงเกือบถึง 30 เมตร นั้นทำมาจากก้อนหินขนาดใหญ่ซึ่งส่งเข้ามาในโอซากะจากเหมืองที่อยู่ห่างออกไปมากกว่า 100 กิโลเมตร ความสูงของกำแพงและความกว้างของคูกำแพงเมืองที่เห็นนั้นไม่สามารถเทียบได้กับปราสาทอื่นๆในญี่ปุ่นได้เลย

สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูปปลาโลมาแปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของเสือ ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วยทองคำ

หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี พ.ศ. 2540 การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซากะ

ประวัติ

ในปี ค.ศ. 1583 โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซากะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจากปราสาทอะซุชิ อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของโอะดะ โนะบุนะงะ โทะโยะโตะมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทะโยะโตะมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดะโยะชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดะโยะชิ คือ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ

ในปี ค.ศ. 1600 โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ปราบศัตรูลงได้ในยุทธการเซะกิงะฮะระและเริ่มจัดตั้งรัฐบาลบะกุฟุที่เอะโดะ ในปี ค.ศ. 1614 โทะกุงะวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดะโยะริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการการล้อมโอซากะ[2] แม้กองกำลังของโทะโยะโตะมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทะกุงะวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทะกุงะวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้

ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดะโยะริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทะกุงะวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซากะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทะโยะโตะมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซากะจึงตกเป็นของโทะกุงะวะ และตระกูลโทะโยะโตะมิก็ถึงคราอวสาน

ในปี ค.ศ. 1620 โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ โชกุนคนที่ 2 แห่งตระกูลโทะกุงะวะ เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซากะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจากทะเลเซะโตะใน และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้

ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา

หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลบะกุฟุต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง

ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซากะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลบะกุฟุ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัยการปฏิรูปเมจิ

ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก[3]

ในปี ค.ศ. 1928 ได้มีการสร้างหอคอยหลักขึ้นมาใหม่หลังจากที่เทศบาลเมืองโอซากะสามารถระดมทุนจากประชาชนมาจำนวนมาก

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซากะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน

ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซากะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซากะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอะโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย

คลังภาพ

อ้างอิง

  1. "Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide". Osaka-info.jp. สืบค้นเมื่อ 2013-02-15.
  2. Meek, Miki. "The Siege of Osaka Castle". National Geographic Magazine. สืบค้นเมื่อ 2008-01-22. {{cite news}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  3. "Osaka Army Arsenal". Ndl.go.jp. สืบค้นเมื่อ 2013-02-15.

แหล่งข้อมูลอื่น


34°41′14″N 135°31′33″E / 34.68722°N 135.52583°E / 34.68722; 135.52583