ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''รองศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง''' อดีต[[ผู้แทนการค้าไทย]] ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน
'''รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง''' อดีต[[ผู้แทนการค้าไทย]] ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน


== การศึกษา ==
== การศึกษา ==
สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2516]] ต่อจากนั้นได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาโท ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ที่[[มหาวิทยาลัยฮาวาย]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา[[เศรษฐศาสตร์]] จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] โดยทุนการศึกษาจาก สถาบัน East-West Center
รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง หรือ รองศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2516]] ต่อจากนั้นได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาโท ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ที่[[มหาวิทยาลัยฮาวาย]] [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา[[เศรษฐศาสตร์]] จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] โดยทุนการศึกษาจาก สถาบัน East-West Center


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง เริ่มทำงานเป็นนักวิจัย ใน[[มหาวิทยาลัยเยล]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก ภายหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วได้ทำงานเป็น Research Fellow ที่ East-West Resource System Institute ที่ Honolulu รัฐ Hawaii หลังจากนั้นจึงได้กลับมาเป็นอาจารย์ประจำ[[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] จากนั้นเพียงปีเดียวจึงได้มาเป็นนักวิจัย ประจำ[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] (TDRI) กระทั่งปี [[พ.ศ. 2533]] และมารับตำแหน่งเป็น[[รองศาสตราจารย์]] ประจำ[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] (AIT) ในปี 2534-2535
สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง เริ่มทำงานเป็นนักวิจัย ใน[[มหาวิทยาลัยเยล]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก ภายหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วได้ทำงานเป็น Research Fellow ที่ East-West Resource System Institute ที่ Honolulu รัฐ Hawaii หลังจากนั้นจึงได้กลับมาเป็นอาจารย์ประจำ[[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] จากนั้นเพียงปีเดียวจึงได้มาเป็นนักวิจัย ประจำ[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] (TDRI) กระทั่งปี [[พ.ศ. 2533]] และมารับตำแหน่งเป็น[[รองศาสตราจารย์]] ประจำ[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] (AIT) ในปี 2534-2535


ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง ได้ไปเป็นผู้อำนวยการสำนัก AFTA สำนักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุง[[จาการ์ตา]] ประเทศอินโดนีเชีย โดยมีหน้าที่ดูแลการดำเนินการและปฏิบัติการตามข้อตกลง เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA) และได้เลื่อนเป็นรองเลขาธิการอาเซียน ฝ่ายปฏิบัติการ (Deputy Secretary General - Operation) ในปี พ.ศ. 2540 -2543 โดยรับผิดชอบดูแลความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งช่วยประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน และการริเริ่มความร่วมมือใหม่ ๆ เช่น ความร่วมมือด้านการเงินระหว่างอาเซียนและประเทศเอเชีย นับเป็นคนไทยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการอาเซียน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง ได้ไปเป็นผู้อำนวยการสำนัก AFTA สำนักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุง[[จาการ์ตา]] ประเทศอินโดนีเชีย โดยมีหน้าที่ดูแลการดำเนินการและปฏิบัติการตามข้อตกลง เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA) และได้เลื่อนเป็นรองเลขาธิการอาเซียน ฝ่ายปฏิบัติการ (Deputy Secretary General - Operation) ในปี พ.ศ. 2540 -2543 โดยรับผิดชอบดูแลความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งช่วยประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน และการริเริ่มความร่วมมือใหม่ ๆ เช่น ความร่วมมือด้านการเงินระหว่างอาเซียนและประเทศเอเชีย นับเป็นคนไทยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการอาเซียน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:01, 8 เมษายน 2561

สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง
ไฟล์:สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง.jpg
ผู้แทนการค้าไทย
ดำรงตำแหน่ง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554
นายกรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 (73 ปี)
กรุงเทพฯ
ศาสนาพุทธ

รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน

การศึกษา

รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง หรือ รองศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2516 ต่อจากนั้นได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาโท ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ที่มหาวิทยาลัยฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยทุนการศึกษาจาก สถาบัน East-West Center

การทำงาน

สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง เริ่มทำงานเป็นนักวิจัย ในมหาวิทยาลัยเยล ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก ภายหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วได้ทำงานเป็น Research Fellow ที่ East-West Resource System Institute ที่ Honolulu รัฐ Hawaii หลังจากนั้นจึงได้กลับมาเป็นอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเพียงปีเดียวจึงได้มาเป็นนักวิจัย ประจำสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) กระทั่งปี พ.ศ. 2533 และมารับตำแหน่งเป็นรองศาสตราจารย์ ประจำสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ในปี 2534-2535

ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง ได้ไปเป็นผู้อำนวยการสำนัก AFTA สำนักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเชีย โดยมีหน้าที่ดูแลการดำเนินการและปฏิบัติการตามข้อตกลง เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA) และได้เลื่อนเป็นรองเลขาธิการอาเซียน ฝ่ายปฏิบัติการ (Deputy Secretary General - Operation) ในปี พ.ศ. 2540 -2543 โดยรับผิดชอบดูแลความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งช่วยประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน และการริเริ่มความร่วมมือใหม่ ๆ เช่น ความร่วมมือด้านการเงินระหว่างอาเซียนและประเทศเอเชีย นับเป็นคนไทยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการอาเซียน

เมื่อครบวาระจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียน ในปี 2543 แล้ว ดร.สุทัศน์ ได้ไปทำงานกับส่วนงานในบริษัท PriceWaterhouseCoopers-PwC ซึ่งเป็นที่ปรึกษาด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย จนกระทั่งเกษียร ในปี 2551

ต่อมาในปี พ.ศ. 2552-2554 ได้เข้ามารับตำแหน่งผู้แทนการค้าไทย ซึ่งเป็นผู้แทนระดับรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีในการเจรจาการค้า การลงทุน และประเด็นทางเศรษฐกิจอื่นๆ กับประเทศต่าง ๆ ในสมัยรัฐบาลของนายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ[1]

ในเดือนตุลาคม 2557 ถึง กันยายน 2558 เป็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช) [2] และเป็นประธานอนุกรรมการปฏิรูปความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ปัจจุบัน

- ในประเทศ

- กรรมการ บริษัทบ้านปู (มหาขน) จำกัด [3]

- กรรมการ คณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย [4]

- ต่างประเทศ

- กรรมการ Board of Trustee, สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (International Rice Research Institute - IRRI) ซึ่งตั้งอยู่ที่ประเทศ ฟิลิปปินส์ [5]

- กรรมการ Board, Cambodia Development Resources Institute - CDRI ประเทศกัมพูชา [6]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • พ.ศ. 2558 จตุตมดิเรกคุณาภรณ์ [9]

อ้างอิง