ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพลงก์ตอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
== ประเภทของแพลงก์ตอน ==
== ประเภทของแพลงก์ตอน ==
# '''แพลงก์ตอนพืช''' ({{lang-en|Phytoplankton มาจากคำว่า phyton ในภาษากรีกแปลว่า พืช}}) คือ น้ำสีเขียว แพลงก์ตอนเป็นพืช[[เซลล์]]เดียว เป็น[[สาหร่าย]]ชนิดหนึ่ง พวกนี้สามารถสร้างอาหารเองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และสาหร่ายเปลวไฟ ในน้ำทุกชนิดมีแพลงก์ตอนชนิดนี้อาศัยอยู่
# '''แพลงก์ตอนพืช''' ({{lang-en|Phytoplankton มาจากคำว่า phyton ในภาษากรีกแปลว่า พืช}}) คือ น้ำสีเขียว แพลงก์ตอนเป็นพืช[[เซลล์]]เดียว เป็น[[สาหร่าย]]ชนิดหนึ่ง พวกนี้สามารถสร้างอาหารเองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และสาหร่ายเปลวไฟ ในน้ำทุกชนิดมีแพลงก์ตอนชนิดนี้อาศัยอยู่
# '''แพลงก์ตอนสัตว์''' ({{lang-en|Zooplankton มาจากคำว่า zoon ในภาษากรีกแปลว่า สัตว์ }}) คือโพรทิสต์พวกโพรโทซัว [[แมงกะพรุน]] หวีวุ้น ตัวอ่อนของสัตว์หลายชนิด เช่น [[กุ้ง]] [[ปู]] [[กั้ง]] หอย [[ปลา]]บางชนิด น้ำแดง พวก[[จุลินทรีย์]] พวกบาซิลัสเป็นต้น
# '''แพลงก์ตอนสัตว์''' ({{lang-en|Zooplankton มาจากคำว่า zoon ในภาษากรีกแปลว่า สัตว์ }}) คือโพรทิสต์พวกโพรโทซัว [[แมงกะพรุน]] หวีวุ้น ตัวอ่อนของสัตว์หลายชนิด เช่น [[กุ้ง]] [[ปู]] [[กั้ง]] หอย [[ปลา]]บางชนิด พวก[[จุลินทรีย์]] พวกบาซิลัสเป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:46, 30 มีนาคม 2561

แพลงก์ตอน

แพลงก์ตอน (อังกฤษ: plankton) มาจากคำว่า πλανκτος ("planktos") ในภาษากรีกแปลว่า wanderer หรือผู้ท่องเที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย คือสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ที่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไม่สามารถว่ายน้ำไปยังทิศทางที่ต้องการอย่างอิสระ

ประเภทของแพลงก์ตอน

  1. แพลงก์ตอนพืช (อังกฤษ: Phytoplankton มาจากคำว่า phyton ในภาษากรีกแปลว่า พืช) คือ น้ำสีเขียว แพลงก์ตอนเป็นพืชเซลล์เดียว เป็นสาหร่ายชนิดหนึ่ง พวกนี้สามารถสร้างอาหารเองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และสาหร่ายเปลวไฟ ในน้ำทุกชนิดมีแพลงก์ตอนชนิดนี้อาศัยอยู่
  2. แพลงก์ตอนสัตว์ (อังกฤษ: Zooplankton มาจากคำว่า zoon ในภาษากรีกแปลว่า สัตว์) คือโพรทิสต์พวกโพรโทซัว แมงกะพรุน หวีวุ้น ตัวอ่อนของสัตว์หลายชนิด เช่น กุ้ง ปู กั้ง หอย ปลาบางชนิด พวกจุลินทรีย์ พวกบาซิลัสเป็นต้น

อ้างอิง