ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศสกอตแลนด์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
McDucation (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
ในช่วงครึ่งหลังของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] ราวปี [[ค.ศ. 1740]] - [[ค.ศ. 1800|1800]] สกอตแลนด์มีความก้าวหน้ามากในเรื่องการศึกษาวิชาการ มีนักคิดและนักปรัชญาคนสำคัญเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้มากมาย จนมีการเรียกขานช่วงเวลานี้ว่า Scottish Enlightenment ([[ยุครู้แจ้งของสกอตแลนด์]]) ตัวอย่างของนักคิดคนสำคัญในช่วงนี้ได้แก่ [[เดวิด ฮูม]] นักปรัชญาชื่อดัง และ[[แอดัม สมิท]] บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ โดยมีศูนย์กลางที่สำคัญคือเมืองเอดินเบอระ และ [[มหาวิทยาเอดินเบอระ]] <ref>[http://www.mcducation.org/th/study_edin.php มหาวิทยาลัยเอดินเบอระ] </ref>
ในช่วงครึ่งหลังของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] ราวปี [[ค.ศ. 1740]] - [[ค.ศ. 1800|1800]] สกอตแลนด์มีความก้าวหน้ามากในเรื่องการศึกษาวิชาการ มีนักคิดและนักปรัชญาคนสำคัญเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้มากมาย จนมีการเรียกขานช่วงเวลานี้ว่า Scottish Enlightenment ([[ยุครู้แจ้งของสกอตแลนด์]]) ตัวอย่างของนักคิดคนสำคัญในช่วงนี้ได้แก่ [[เดวิด ฮูม]] นักปรัชญาชื่อดัง และ[[แอดัม สมิท]] บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ โดยมีศูนย์กลางที่สำคัญคือเมืองเอดินเบอระ และ [[มหาวิทยาเอดินเบอระ]] <ref>[http://www.mcducation.org/th/study_edin.php มหาวิทยาลัยเอดินเบอระ] </ref>


หลังจากยุครู้แจ้ง สก็อตแลนด์มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมอย่างรวดเร็ว เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ผลงานการประดิษฐ์และคิดค้นของชาวสก็อตในยุคนี้โดดเด่นกว่าประเทศเพื่อนบ้านอย่างเห็นได้ชัด นับตั้งแต่การคิดค้นทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล การค้นคว้าทางด้านเทอร์โมไดนามิคส์ของ ลอร์ดเคลวิน และ แรงคิน และการพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นสำคัญให้สหราชอาณาจักรเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม และกลายเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา ผลงานประดิษฐ์โทรศัพท์ โทรทัศน์ เรดาร์ การคิดค้นยาปฎิชีวนะ การพัฒนาเทคนิคการผ่าตัดสมัยใหม่ และ การคิดค้นนวัตกรรมทางการเงินและการธนาคาร <ref>[http://www.mcducation.org/th/scotland.php ข้อมูลประเทศสก็อตแลนด์]</ref>
หลังจากยุครู้แจ้ง สก็อตแลนด์มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมอย่างรวดเร็ว เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ผลงานการประดิษฐ์และคิดค้นของชาวสก็อตในยุคนี้โดดเด่นกว่าประเทศเพื่อนบ้านอย่างเห็นได้ชัด นับตั้งแต่การคิดค้นทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล การค้นคว้าทางด้านเทอร์โมไดนามิคส์ของ ลอร์ดเคลวิน และ แรงคิน และการพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นสำคัญให้สหราชอาณาจักรเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม และกลายเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา ผลงานประดิษฐ์โทรศัพท์ โทรทัศน์ เรดาร์ การคิดค้นยาปฎิชีวนะ การพัฒนาเทคนิคการผ่าตัดสมัยใหม่ นอกจากนี้ ชาวสก็อตยังมีชื่อเสียงด้านการเงินและการธนาคาร โดยมีการคิดค้นนวัตกรรมทางการเงินและการธนาคารต่างๆ อาทิ ตู้เอทีเอ็ม การทำโอเวอร์ดราฟท์ และการนำระบบทศนิยมมาใช้ในทางการธนาคาร ชาวสก็อตยังเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปหลายแห่ง เช่น HSBC และ RBS ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 1 และ 2 ของยุโรป รวมไปถึงการเป็นริเริ่มก่อตั้ง Bank of England ด้วย <ref>[http://www.mcducation.org/th/scotland.php ข้อมูลประเทศสก็อตแลนด์]</ref>





รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:21, 3 ตุลาคม 2550

สกอตแลนด์
Scotland
Alba
คำขวัญ
Nemo me impune lacessit (ละติน)
No one provokes me with impunity (อังกฤษ)
daur meddle wi me? (สกอต)
ที่ตั้งของสกอตแลนด์
เมืองหลวงเอดินบะระ
เมืองใหญ่สุดกลาสโกว์
ภาษาราชการอังกฤษ แกลิกสกอต สกอต
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2
กอร์ดอน บราวน์
แจ็ค แม็คคอนแนว
สถาปนาเป็น
ประชากร
• 2548 ประมาณ
5,094,800 (n/a)
• สำมะโนประชากร 2544
5,062,011
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2545 (ประมาณ)
• รวม
$130 billion (n/a)
$25,546 (n/a)
เอชดีไอ (2546)0.939
สูงมาก · n/a
สกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง (£) (GBP)
เขตเวลาUTC+0 (GMT)
รหัสโทรศัพท์44
โดเมนบนสุด.uk

สกอตแลนด์ (แกลิกสกอต: Alba ; อังกฤษ: Scotland) เป็นชาติทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป และเป็นหนึ่งในชาติสมาชิกของสหราชอาณาจักร มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ 1 ใน 3 ทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนตอนใต้ร่วมกับอังกฤษ ด้านตะวันออกติดทะเลเหนือ ด้านตะวันตกติดมหาสมุทรแอตแลนติก เมืองหลวงคือเอดินบะระ เมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือกลาสโกว์

สก็อตแลนด์มีขนาดประชากรเพียงหนึ่งในสามและประชากรเพียงหนึ่งในสิบของสหราชอาณาจักร แต่มีเมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการท่องเที่ยวอันดับสองและสามของสหราชอาณาจักร คือเอดินเบอระและกลาสโกว์ รวมไปถึงเมืองที่เป็นศูนย์กลางการค้าน้ำมันของยุโรปคืออเบอร์ดีน โดยเป็นจุดเชื่อมต่อกับทะเลเหนือ เมืองสำคัญอื่นๆของสก็อตแลนด์ได้แก่ เมืองดันดีที่เป็นเมืองทางด้านเทคโนโลยีที่เติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งของยุโรป เมืองสเตอร์ลิงที่เป็นเมืองหลวงเก่าของสก็อตแลนด์ และมีไฮแลนด์ที่เป็นดินแดนทะเลสาบภูเขาอันกว้างใหญ่ ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยที่สุดในสหราชอาณาจักร [1]

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเทศอังกฤษ จนเมื่อปี ค.ศ. 1603 ที่กษัตริย์เจมส์ที่ 6 แห่งสก็อตแลนด์ ได้ขึ้นครองบัลลังค์กษัตริย์แห่งประเทศอังกฤษ ใช้พระนามว่า พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ จึงมีผลให้ทั้งสองประเทศมีกษัตริย์ปกครององค์เดียวกัน เรียกว่า Union of Crown อย่างไรก็ตาม รัฐบาลของทั้งสองยังคงแยกจากกันอยู่ จนถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1707 อังกฤษและสก็อตแลนด์ได้รวมตัวกันด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ตาม Act of Union 1707 มีผลให้รวมกับราชอาณาจักรอังกฤษ และกลายเป็นราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ [2]

ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ราวปี ค.ศ. 1740 - 1800 สกอตแลนด์มีความก้าวหน้ามากในเรื่องการศึกษาวิชาการ มีนักคิดและนักปรัชญาคนสำคัญเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้มากมาย จนมีการเรียกขานช่วงเวลานี้ว่า Scottish Enlightenment (ยุครู้แจ้งของสกอตแลนด์) ตัวอย่างของนักคิดคนสำคัญในช่วงนี้ได้แก่ เดวิด ฮูม นักปรัชญาชื่อดัง และแอดัม สมิท บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ โดยมีศูนย์กลางที่สำคัญคือเมืองเอดินเบอระ และ มหาวิทยาเอดินเบอระ [3]

หลังจากยุครู้แจ้ง สก็อตแลนด์มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมอย่างรวดเร็ว เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ผลงานการประดิษฐ์และคิดค้นของชาวสก็อตในยุคนี้โดดเด่นกว่าประเทศเพื่อนบ้านอย่างเห็นได้ชัด นับตั้งแต่การคิดค้นทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล การค้นคว้าทางด้านเทอร์โมไดนามิคส์ของ ลอร์ดเคลวิน และ แรงคิน และการพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นสำคัญให้สหราชอาณาจักรเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม และกลายเป็นเจ้าอาณานิคมในเวลาต่อมา ผลงานประดิษฐ์โทรศัพท์ โทรทัศน์ เรดาร์ การคิดค้นยาปฎิชีวนะ การพัฒนาเทคนิคการผ่าตัดสมัยใหม่ นอกจากนี้ ชาวสก็อตยังมีชื่อเสียงด้านการเงินและการธนาคาร โดยมีการคิดค้นนวัตกรรมทางการเงินและการธนาคารต่างๆ อาทิ ตู้เอทีเอ็ม การทำโอเวอร์ดราฟท์ และการนำระบบทศนิยมมาใช้ในทางการธนาคาร ชาวสก็อตยังเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปหลายแห่ง เช่น HSBC และ RBS ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 1 และ 2 ของยุโรป รวมไปถึงการเป็นริเริ่มก่อตั้ง Bank of England ด้วย [4]


ถนนบูคานัน กลาสโกว์ สกอตแลนด์

อ้างอิง

  1. ข้อมูลประเทศสก็อตแลนด์
  2. ข้อมูลประเทศสก็อตแลนด์
  3. มหาวิทยาลัยเอดินเบอระ
  4. ข้อมูลประเทศสก็อตแลนด์

แหล่งข้อมูลอื่น