ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานหัวหิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Krijthanaphat penbunprasert (คุย | ส่วนร่วม)
Krijthanaphat penbunprasert (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
ในปี พ.ศ. 2561 สายการบินแอร์เอเซียมาเลเซีย(AK) ได้ดำเนินการเปิดเส้นทางบินตรงแบบประจำ ระหว่างท่าอากาศยานหัวหินไปกลับ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์<ref>[http://www.ryt9.com/s/iq05/2681850 เตรียมเปิดเส้นทางบินใหม่ หัวหิน-มาเลเซีย]</ref>โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ [[แอร์บัส เอ320]] ส่งผลให้ท่าอากาศยานหัวหินกลับมามีสายการบินพาณิชย์เปิดให้บริการอีกครั้ง หลังจากสายการบินกานต์แอร์มีปัญหาเกี่ยวกับใบอนุญาตในการทำการบินไปก่อนหน้านี้ ซึ่งนับว่าเป็นท่าอากาศยานแห่งที่ 11 ของประเทศไทย ที่ให้บริการรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ
ในปี พ.ศ. 2561 สายการบินแอร์เอเซียมาเลเซีย(AK) ได้ดำเนินการเปิดเส้นทางบินตรงแบบประจำ ระหว่างท่าอากาศยานหัวหินไปกลับ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์<ref>[http://www.ryt9.com/s/iq05/2681850 เตรียมเปิดเส้นทางบินใหม่ หัวหิน-มาเลเซีย]</ref>โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ [[แอร์บัส เอ320]] ส่งผลให้ท่าอากาศยานหัวหินกลับมามีสายการบินพาณิชย์เปิดให้บริการอีกครั้ง หลังจากสายการบินกานต์แอร์มีปัญหาเกี่ยวกับใบอนุญาตในการทำการบินไปก่อนหน้านี้ ซึ่งนับว่าเป็นท่าอากาศยานแห่งที่ 11 ของประเทศไทย ที่ให้บริการรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ


=== สายการบินที่เปิดให้บริการในปัจจุบัน ===
=== สายการบินที่ให้บริการในปัจจุบัน ===
*** ปัจจุบันไม่มีสายการบินพาณิชย์เปิดให้บริการในเส้นทางนี้ ***


=== สายการบินที่จะเปิดให้บริการในอนาคต===
{{airport-dest-list
{{airport-dest-list
|[[แอร์เอเชียมาเลเซีย]] | [[ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์]]
|[[แอร์เอเชียมาเลเซีย]] | [[ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์]]
'''เริ่มให้บริการเที่ยวบินแรก 18 พฤษภาคม 2561'''
'''เริ่มให้บริการวันที่ 18 พฤษภาคม 2561'''
|[[บัดเก็ทไลนส์ แอร์อินเตอร์]] | [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]]
'''เที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ Air Charter'''
}}
}}


=== สายการบินที่เคยเปิดให้บริการ ===
=== สายการบินที่เคยเปิดให้บริการ ===

{{airport-dest-list
{{airport-dest-list
|[[นกมินิ]] | [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]]
|[[นกมินิ]] | [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:54, 12 มีนาคม 2561

พิกัดภูมิศาสตร์: 12°38′10″N 099°57′05″E / 12.63611°N 99.95139°E / 12.63611; 99.95139

ท่าอากาศยานหัวหิน
  • IATA: HHQ
  • ICAO: VTPH
    HHQตั้งอยู่ในประเทศไทย
    HHQ
    HHQ
    ตำแหน่งของสนามบินในประเทศไทย
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
ผู้ดำเนินงานกรมการบินพลเรือน
สถานที่ตั้งตำบลหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล19 เมตร / 62 ฟุต
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
16/34 2,100 6,890 ยางมะตอย
สถิติ (2559)
ผู้โดยสาร12,085
เที่ยวบิน613

ท่าอากาศยานหัวหิน หรือเดิมคือ สนามบินบ่อฝ้าย ตั้งอยู่ในเขต ตำบลบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีอาคารผู้โดยสารขนาด 7,200 ตารางเมตร และพื้นที่ลานจอดเครื่องบินขนาด 31,000 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 240 คนต่อชั่วโมง นอกจากนี้ท่าอากาศยานหัวหินยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฝึกการบิน สถาบันการบินพลเรือน และ ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน ซึ่งดูแลพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

หัวทางวิ่งของท่าอากาศยานหัวหินด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะอยู่คร่อมทางรถไฟสายใต้ และถนนเพชรเกษม ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ผู้ใช้เส้นทางเข้าตัวเมืองหัวหินจะต้องขับรถลอดผ่านอุโมงค์ใต้ทางวิ่งไป

ประวัติ

ท่าอากาศยานหัวหินแต่เดิมมีชื่อว่า สนามบินบ่อฝ้าย ยังไม่มีการใช้งานอย่างเป็นทางการ เนื่องจากแต่เดิมมีเพียงเครื่องบินที่ใช้ในการทหารเท่านั้น ซึ่งมีทหารอากาศเพียงสังกัดหน่วยงานเดียวที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเดินหรือการขนส่งทางอากาศ ทางกองทัพอากาศได้มีการสำรวจพื้นที่ซึ่งเป็นของทางราชการ และมีการปรับปรุงให้สามารถใช้ประโยชน์กับพื้นที่นั้น ๆ จึงได้มีการย้ายสนามบินของกองทัพอากาศ จากที่เดิม สนามบินหนองบ้วย อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เนื่องจากพื้นที่ของสนามบินหนองบ้วยนั้นไม่สามารถขยายให้เครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ขึ้น-ลง ได้ มาใช้พื้นที่ ที่ได้มีการปรับปรุงไว้เรียบร้อยแล้ว คือ สนามบินบ่อฝ้าย ตำบลบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ตั้งปัจจุบัน ซึ่งในระยะแรกเป็นการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สนามบินเพื่อทางการทหารเท่านั้น

หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2498 การขนส่งทางอากาศได้เป็นที่แพร่หลาย บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด ได้นำเครื่องบินแบบ DC-3 หรือ DAKOTA มาทำการบินขึ้น-ลง ณ สนามบินบ่อฝ้าย เฉพาะฤดูตากอากาศเท่านั้น โดยมีกองทัพอากาศคอยควบคุมดูแล และในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 ได้มีการเปลี่ยนชื่อเรียกของสนามบิน เป็นท่าอากาศยานหัวหิน โดยมีการส่งมอบพื้นที่ความรับผิดชอบจากของกองทัพอากาศ มาเป็นพื้นที่เขตความรับผิดชอบของกรมการบินพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม[4] หรือกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม[5] ในปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2561 สายการบินแอร์เอเซียมาเลเซีย(AK) ได้ดำเนินการเปิดเส้นทางบินตรงแบบประจำ ระหว่างท่าอากาศยานหัวหินไปกลับ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์[6]โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ แอร์บัส เอ320 ส่งผลให้ท่าอากาศยานหัวหินกลับมามีสายการบินพาณิชย์เปิดให้บริการอีกครั้ง หลังจากสายการบินกานต์แอร์มีปัญหาเกี่ยวกับใบอนุญาตในการทำการบินไปก่อนหน้านี้ ซึ่งนับว่าเป็นท่าอากาศยานแห่งที่ 11 ของประเทศไทย ที่ให้บริการรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ

สายการบินที่ให้บริการในปัจจุบัน

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
แอร์เอเชียมาเลเซีย ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

เริ่มให้บริการวันที่ 18 พฤษภาคม 2561

บัดเก็ทไลนส์ แอร์อินเตอร์ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง

เที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ Air Charter

สายการบินที่เคยเปิดให้บริการ

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
นกมินิ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง
กานต์แอร์ ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่
ไทยไลอ้อนแอร์ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง

ท่าอากาศยานหัวหินในปัจจุบัน

ท่าอากาศยานหัวหินในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ศูนย์ฝึกการบิน สถาบันการบินพลเรือน เป็นสถานที่ฝึกสอนหลักสูตรภาคอากาศ(นักบิน) โดยใช้ทางวิ่งของท่าอากาศยานในการขึ้น-ลงของอากาศยานฝึกบิน มีอาคารและโรงจอดอากาศยานของศูนย์ฝึกการบินตั้งอยู่บริเวณใกล้กับหัวทางวิ่งฝั่งที่ติดกับทะเล และจะกลับมาเปิดให้บริการในเชิงพาณิชย์อีกครั้งในเดือนพฤษภาคม 2561

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น