ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซลล์รับกลิ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ+บทความเดิม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
-->
-->
'''เซลล์ประสาทรับกลิ่น''' ({{lang-en |olfactory receptor neuron ตัวย่อ ORN, olfactory sensory neuron ตัวย่อ OSN}}) เป็นเซลล์ที่[[การถ่ายโอนความรู้สึก|ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาท]]ภายใน[[ระบบรับกลิ่น]]<ref name= Jean-Pierre>{{cite journal | pmid = 9663551 | year = 1998 | author1 = Vermeulen | first1 = A | title = Dendritic integration in olfactory sensory neurons: A steady-state analysis of how the neuron structure and neuron environment influence the coding of odor intensity | journal = Journal of computational neuroscience | volume = 5 | issue = 3 | pages = 243-66 | last2 = Rospars | first2 = J. P. }}</ref>
'''เซลล์ประสาทรับกลิ่น''' ({{lang-en |olfactory receptor neuron ตัวย่อ ORN, olfactory sensory neuron ตัวย่อ OSN}}) เป็นเซลล์ที่[[การถ่ายโอนความรู้สึก|ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาท]]ภายใน[[ระบบรับกลิ่น]]<ref name= Jean-Pierre>{{cite journal | pmid = 9663551 | year = 1998 | author1 = Vermeulen | first1 = A | title = Dendritic integration in olfactory sensory neurons: A steady-state analysis of how the neuron structure and neuron environment influence the coding of odor intensity | journal = Journal of computational neuroscience | volume = 5 | issue = 3 | pages = 243-66 | last2 = Rospars | first2 = J. P. }}</ref>
เป็นเซลล์ที่อยู่ภายใน[[เยื่อรับกลิ่น]]ที่บุบางส่วนของโพรงจมูก บริเวณปลายเซลล์จะมีเส้นขนเล็กๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่ดักจับโมเลกุลของกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก
เป็นเซลล์ที่อยู่ภายใน[[เยื่อรับกลิ่น]]ที่บุบางส่วนของโพรงจมูก (ประมาณ 5 ซม<sup>2</sup> ในมนุษย์) บริเวณยอดเซลล์จะมีเส้นขนเล็ก ๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่จับโมเลกุลกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก
เซลล์จะถ่ายโอนกลิ่นเป็น[[กระแสประสาท]]แล้วส่งผ่าน[[เส้นประสาทรับกลิ่น]] (olfactory nerve) ซึ่งวิ่งผ่านรูในกระดูก cribriform plate เหนือโพรงจมูกขึ้นไปยัง[[ป่องรับกลิ่น]]ในสมอง<ref name=Kandel2013-p713-716 />
การรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่นสุนัข ซึ่งมีระบบประสาทในการรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม
การรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่น[[สุนัข]] ซึ่งมีประสาทรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม


== โครงสร้างและการทำงาน ==
== สัตว์มีกระดูกสันหลัง ==
[[มนุษย์]]มีเซลล์ประสาทรับกลิ่นประมาณ 10 ล้านตัว<ref>{{Cite book | title = Psychology | last = Schacter | first = Daniel L. | year = 2014 | isbn = 1464106037 | pages = 167 }}</ref>
[[มนุษย์]]มีเซลล์ประสาทรับกลิ่นประมาณ 12 ล้านตัว<ref>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Figure 15.2 Odorant perception in mammals., p. 366 }}</ref>
ซึ่งจะเปลี่ยนทุก ๆ 30-60 วันทดแทนด้วยเซลล์ต้นกำเนิดชั้นฐาน (basal stem cell) ที่พัฒนากลายเป็นเซลล์ประสาทรับกลิ่น<ref name=Kandel2013-p713-716>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | loc = A Large Number of Olfactory Receptor Proteins Initiate the Sense of Smell, 713-716 }}</ref>
ใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] เซลล์จะเป็นแบบ[[เซลล์ประสาทสองขั้ว]]โดยมี[[เดนไดรต์]]หันออกจากแผ่นกระดูกพรุน (cribriform plate) และมี[[แอกซอน]]ที่วิ่งผ่านรูแผ่นกระดูกและไปสุดที่[[ป่องรับกลิ่น]] (olfactory bulb)
เทียบกับหนูที่มี 15 ล้านตัว<ref>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Figure 15.2 Odorant perception in mammals, p. 366 }}</ref>
กับสุนัขทั่วไปที่มี 125-220 ล้านตัว และกับสุนัข[[บลัดฮาวด์]]ที่มีถึง 300 ล้านตัว<ref>{{cite book | authors = Coren, Stanley | year = 2004 | title = How Dogs Think | publisher = First Free Press, Simon & Schuster | pages = 0-7432-2232-6 }}</ref>

เซลล์จะเป็นแบบ[[เซลล์ประสาทสองขั้ว]]โดยมี[[เดนไดรต์]]งอกออกจากส่วนยอดและหันออกจากแผ่นกระดูกพรุน (cribriform plate) และมี[[แอกซอน]]ซึ่งไม่หุ้ม[[ปลอกไมอีลิน]]และงอกออกจากส่วนฐานแล้ววิ่งผ่านรูแผ่นกระดูกขึ้นไปสุดที่[[ป่องรับกลิ่น]] (olfactory bulb) ซีกร่างกายเดียวกันใน[[สมอง]]
ตัวเซลล์จะอยู่ที่[[เยื่อรับกลิ่น]] (olfactory epithelium) ในช่องจมูก
ตัวเซลล์จะอยู่ที่[[เยื่อรับกลิ่น]] (olfactory epithelium) ในช่องจมูก
โดยกระจายไปตามชั้นทั้งสามของเนื้อเยื่อ<ref name= Cunningham>{{cite journal | doi = 10.1016/s0306-4522(99)00193-1 | pmid = 10501454 | title = Olfactory receptor neurons exist as distinct subclasses of immature and mature cells in primary culture | journal = Neuroscience | volume = 93 | issue = 4 | year = 1999 | last1 = Cunningham | first1 = A.M. | last2 = Manis | first2 = P.B. | last3 = Reed | first3 = R.R. | last4 = Ronnett | first4 = G.V. | pages = 1301-12}}</ref>
โดยกระจายไปตามชั้นทั้งสามของเนื้อเยื่อ<ref name= Cunningham>{{cite journal | doi = 10.1016/s0306-4522(99)00193-1 | pmid = 10501454 | title = Olfactory receptor neurons exist as distinct subclasses of immature and mature cells in primary culture | journal = Neuroscience | volume = 93 | issue = 4 | year = 1999 | last1 = Cunningham | first1 = A.M. | last2 = Manis | first2 = P.B. | last3 = Reed | first3 = R.R. | last4 = Ronnett | first4 = G.V. | pages = 1301-12}}</ref>
แอกซอนจากฐานจะรวมตัวกันเป็นมัดใยประสาทจำนวนมากที่รวม ๆ กันเรียกว่า ฆานประสาท (olfactory nerve, CN I) ก่อนจะวิ่งผ่านรูกระดูกพรุน<ref name=Purves2008-F15.1>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Figure 15.1-Organization of the human olfactory system, p. 364 }}</ref>


ไม่เหมือนกับ[[เซลล์ประสาทรับความรู้สึก]]อื่น ๆ เช่น [[เซลล์รับแสง]]ใน[[จอตา]] และ[[เซลล์ขน]]ใน[[คอเคลีย]] เซลล์ประสาทรับกลิ่นเองมีแอกซอนคือสามารถส่ง[[ศักยะงาน]]ไปยังระบบประสาทส่วนกลางโดยไม่ต้องอาศัยเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่ง<ref>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = The Olfactory Bulb, pp. 378-381 }}</ref>
=== โครงสร้าง ===
นอกจากนั้น เซลล์ยังส่งสัญญาณไปยังระบบประสาทส่วนกลางคือป่องรับกลิ่นโดยไม่ผ่าน[[ทาลามัส]]เหมือนกับ[[ระบบรับความรู้สึก]]อื่น ๆ อีกด้วย โดยป่องรับกลิ่นจะทำหน้าที่นี้แทนทาลามัส<ref name=Purves2008-p363-365>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = The Organization of the Olfactory System, pp. 363-365 }}</ref>
[[ซีเลีย]]ที่คล้ายขนเล็ก ๆ จำนวนมากจะยื่นออกจาก[[เดนไดรต์]]ของเซลล์รับกลิ่นเข้าไปใน[[เมือก]]ที่ปกคลุมผิวของเยื่อรับกลิ่น
ผิวของซิเลียจะปกคลุมด้วยโปรตีน[[ตัวรับกลิ่น]] (olfactory receptor, ตัวย่อ OR) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของ [[G protein-coupled receptor]]
เซลล์รับกลิ่นแต่ละตัวจะ[[การแสดงออกของยีน|แสดงออก]]ตัวรับกลิ่นเพียงแค่ชนิดเดียว แต่เซลล์หลายตัวจะแสดงออกตัวรับกลิ่นชนิดเดียวกันซึ่งเข้ายึดโมเลกุลแบบเดียวกัน
[[แอกซอน]]ของเซลล์รับกลิ่นที่มีตัวรับกลิ่นชนิดเดียวกัน จะวิ่งรวมเข้าเป็น [[glomerulus]] (หลายตัว) โดยเฉพาะ ๆ ใน[[ป่องรับกลิ่น]]<ref>{{cite journal | last1 = McEwen | first1 = D. P | title = Olfactory cilia: our direct neuronal connection to the external world. | journal = Curr. Top. Dev. Biol. | date = 2008 | volume = 85 | pages = 333-370 | doi = 10.1016/S0070-2153(08)00812-0 | url = http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0070215308008120}}</ref>


เซลล์รับกลิ่นแต่ละตัวจะ[[การแสดงออกของยีน|แสดงออก]]หน่วยรับกลิ่นเพียงแค่ชนิดเดียว แต่เซลล์หลายตัวจะแสดงออกหน่วยรับกลิ่นชนิดเดียวกันซึ่งจับกับโมเลกุลกลิ่นแบบเดียวกัน
=== หน้าที่ ===
เซลล์รับกลิ่นที่มีหน่วยรับกลิ่นประเภทเดียวกันนี้จะอยู่จำกัดภายในโซนหลายโซนของเยื่อรับกลิ่นโดยกระจายไปอย่างสุ่มในโซนนั้น ๆ
ตัวรับกลิ่นซึ่งอยู่ที่เยื่อหุ้มซีเลีย ได้ระบุแล้วว่าเป็น[[ช่องไอออน]]แบบ ligand-gated metabotropic channels<ref>{{cite journal | doi = 10.1111/j.1749-6632.2009.03935.x | pmid = 19686133 | title = Insect Olfactory Receptor Complex Functions as a Ligand-gated Ionotropic Channel | journal = Annals of the New York Academy of Sciences | volume = 1170 | pages = 177-80 | year = 2009 | last1 = Touhara | first1 = Kazushige | bibcode = 2009NYASA1170..177T }}</ref>
[[แอกซอน]]ของเซลล์รับกลิ่นต่าง ๆ ที่มีหน่วยรับกลิ่นชนิดเดียวกัน จะวิ่งรวมเข้าที่[[โกลเมอรูลัส]] (glomerulus) โดยเฉพาะ ๆ ของ[[ป่องรับกลิ่น]]ในซีกร่างกายเดียวกัน<ref>{{cite journal | last1 = McEwen | first1 = D. P | title = Olfactory cilia: our direct neuronal connection to the external world. | journal = Curr. Top. Dev. Biol. | date = 2008 | volume = 85 | pages = 333-370 | doi = 10.1016/S0070-2153(08)00812-0 | url = http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0070215308008120}}</ref>
มียีนประมาณ 1,000 ยีนที่[[เข้ารหัส]]ตัวรับความรู้สึกในมนุษย์ ทำให้เป็นกลุ่มยีนขนาดใหญ่ที่สุด
และปกติจะส่งแอกซอนไปยังโกลเมอรูลัสเป็นคู่ในป่องรับกลิ่น โกลเมอรูลัสแต่ละอันจะอยู่ด้านตรงข้ามของป่องโดยมีเส้นแบ่งข้างวิ่งผ่านป่องในแนวทแยง<ref name=Kandel2013-p717-719>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013a | loc = Sensory Inputs in the Olfactory Bulb Are Arranged by Receptor Type, pp. 717-719}}</ref>
โมเลกุลกลิ่นจะละลายในเมือกของเยื่อรับความรู้สึกแล้วเข้ายึดกับตัวรับความรู้สึก โดยแต่ละตัวสามารถเข้ายึดกับโมเลกุลกลิ่นหลายชนิด แม้จะมีสัมพรรคภาพต่อกลิ่นต่าง ๆ ไม่เท่ากัน

ความต่าง ๆ ทางสัมพรรคภาพเช่นนี้ จะเป็นเหตุเกิดการตอบสนองในรูปแบบต่าง ๆ กันแล้วสร้างโปรไฟล์กลิ่นโดยเฉพาะ ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.1093/chemse/bjh050 | pmid = 15269120 | title = Olfactory Receptor Neuron Profiling using Sandalwood Odorants | journal = Chemical Senses | volume = 29 | issue = 6 | pages = 483-7 | year = 2004 | last1 = Bieri | first1 = S. | last2 = Monastyrskaia | first2 = K | last3 = Schilling | first3 = B }}</ref><ref>{{cite journal | doi = 10.1006/dbio.2000.9972 | pmid = 11133158 | title = Onset of Odorant Receptor Gene Expression during Olfactory Sensory Neuron Regeneration | journal = Developmental Biology | volume = 229 | issue = 1 | pages = 119-27 | year = 2001 | last1 = Fan | first1 = Jinhong | last2 = Ngai | first2 = John }}</ref>
=== ซีเลีย ===
การทำงานของตัวรับความรู้สึกก็จะทำให้ระบบในเซลล์ต่าง ๆ เริ่มทำงานรวมทั้ง G-protein, GOLF (GNAL), และ adenylate cyclase การผลิต cyclic AMP (cAMP) ก็จะเปิด[[ช่องไอออน]]ใน[[เยื่อหุ้มเซลล์]] ทำให้ไอออน[[โซเดียม]]และ[[แคลเซียม]]สามารถไหลเข้ามาในเซลล์ และไอออนคลอไรด์ไหลออกนอกเซลล์
[[ซีเลีย]]ที่คล้ายขนเล็ก ๆ จำนวนมากจะยื่นออกจาก[[เดนไดรต์]]อันเดียวของเซลล์รับกลิ่นส่วนยอด เข้าไปในชั้น[[เมือก]]หนาที่ปกคลุมผิวของเยื่อรับกลิ่น
การไหลเข้าของไอออนบวกและการไหลออกของไอออนลบ ทำให้เซลล์ประสาท[[การลดขั้ว|ลดขั้ว]]แล้วสร้าง[[ศักยะงาน]]
ผิวของซิเลียจะปกคลุมด้วยโปรตีน[[หน่วยรับกลิ่น]] (olfactory receptor, ตัวย่อ OR) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของ [[G protein-coupled receptor]]
หน่วยรับกลิ่นจะมีกลไกในการขยายสัญญาณกลิ่นและ[[การถ่ายโอนความรู้สึก|ถ่ายโอนกลิ่น]]เป็น[[กระแสประสาท]]<ref name=Kandel2013-p713-716 />

ซีเลียของเซลล์รับกลิ่นไม่มีโครงสร้างเหมือนกับซีเลียที่เคลื่อนที่ได้ (คือที่เป็น[[ไมโครทิวบูล]]แบบ 9+2) แม้รูปอาจจะเหมือน แต่ซีเลียของเซลล์กลับสมบูรณ์ไปด้วย[[แอกติน]]และเหมือนกับ microvilli ของเยื่อบุผิวอื่น ๆ มากกว่า เช่นดังที่พบใน[[ปอด]]หรือใน[[ลำไส้]] เป็นโครงสร้างที่ช่วยขยายขนาดพื้นที่ในการรับกลิ่นเป็นอย่างมาก
มีโปรตีน[[หน่วยรับกลิ่น]]หลายอย่างที่จำเป็นในการถ่ายโอนสัญญาณกลิ่นเป็นกระแสประสาท และพบอย่างหนาแน่นหรือโดยส่วนเดียวที่ซีเลียของเซลล์รับกลิ่น<ref name=Purves2008-p369-372>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Olfactory Epithelium and Olfactory Receptor Neurons, pp. 369-372 }}</ref>

=== หน่วยรับกลิ่นและกลไกการทำงาน ===
{{ข้อมูลเพิ่มเติม |หน่วยรับกลิ่น}}
[[หน่วยรับกลิ่น]]ซึ่งอยู่ที่เยื่อหุ้มซีเลีย ได้ระบุแล้วว่าเป็น[[ช่องไอออน]]แบบ ligand-gated metabotropic channels<ref>{{cite journal | doi = 10.1111/j.1749-6632.2009.03935.x | pmid = 19686133 | title = Insect Olfactory Receptor Complex Functions as a Ligand-gated Ionotropic Channel | journal = Annals of the New York Academy of Sciences | volume = 1170 | pages = 177-80 | year = 2009 | last1 = Touhara | first1 = Kazushige | bibcode = 2009NYASA1170..177T }}</ref>
มียีนประมาณ 1,000 ยีนที่[[เข้ารหัส]]ตัวรับความรู้สึกในมนุษย์ ทำให้เป็นกลุ่มยีนขนาดใหญ่ที่สุดในดีเอ็นเอมนุษย์
โมเลกุลกลิ่นจะละลายในเมือกของเยื่อรับความรู้สึกแล้วจับกับหน่วยรับความรู้สึก โดยแต่ละหน่วยสามารถจับกับโมเลกุลกลิ่นได้หลายชนิด แม้จะมีสัมพรรคภาพต่อกลิ่นต่าง ๆ ไม่เท่ากัน
ความต่าง ๆ ทางสัมพรรคภาพเช่นนี้ จะเป็นเหตุเกิดการตอบสนองในรูปแบบต่าง ๆ เป็นโปรไฟล์การตอบสนองต่อกลิ่นโดยเฉพาะ ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.1093/chemse/bjh050 | pmid = 15269120 | title = Olfactory Receptor Neuron Profiling using Sandalwood Odorants | journal = Chemical Senses | volume = 29 | issue = 6 | pages = 483-7 | year = 2004 | last1 = Bieri | first1 = S. | last2 = Monastyrskaia | first2 = K | last3 = Schilling | first3 = B }}</ref><ref>{{cite journal | doi = 10.1006/dbio.2000.9972 | pmid = 11133158 | title = Onset of Odorant Receptor Gene Expression during Olfactory Sensory Neuron Regeneration | journal = Developmental Biology | volume = 229 | issue = 1 | pages = 119-27 | year = 2001 | last1 = Fan | first1 = Jinhong | last2 = Ngai | first2 = John }}</ref>

หน่วยรับกลิ่นที่จับกับโมเลกุลกลิ่นจะทำให้เกิดการส่งสัญญาณเป็นลำดับภายในเซลล์ ซึ่งในที่สุดก็ทำให้เซลล์[[การลดขั้ว|ลดขั้ว]]แล้วส่ง[[ศักยะงาน]]ไปยังป่องรับกลิ่น<ref name=Kandel2013-p714-715>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | loc = Mammals Share a Large Family of Odorant Receptors, 714-715 }}</ref>
โดยรายละเอียดก็คือ เมื่อจับกับกลิ่นแล้ว หน่วยรับกลิ่นจะเปลี่ยนโครงสร้างแล้วเริ่มการทำงานของ G protein ภายใน[[เซลล์รับกลิ่น]]ซึ่งอยู่ที่ปลาย carboxyl ของหน่วยรับกลิ่น
G protein (G<sub>olf</sub> และ/หรือ G<sub>s</sub>)<ref name="pmid2499043">{{cite journal | authors = Jones, DT; Reed, RR | title = Golf: an olfactory neuron specific-G protein involved in odorant signal transduction | journal = Science | volume = 244 | issue = 4906 | pages = 790-5 | date = 1989-05 | pmid = 2499043 | doi = 10.1126/science.2499043 | bibcode = 1989Sci...244..790J }}</ref>
ซึ่งเป็นประเภทที่เฉพาะต่อระบบรับกลิ่น ก็จะเริ่มการทำงานของ[[เอนไซม์]] adenylate cyclase III (ACIII) ซึ่งเป็น[[เอนไซม์]]เฉพาะในระบบรับกลิ่นเช่นกัน และเพิ่มการปล่อย cyclic AMP (cAMP) ซึ่งทำหน้าที่เป็น [[second messenger]] โดยอาศัย[[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต]] (ATP)
cAMP ก็จะเปิด[[ช่องไอออน]] cyclic nucleotide-gated ion channel ทำให้ไอออนแคลเซียม (Na<sup>+</sup>) และโซเดียม (Ca<sup>2+</sup>) ซึมเข้ามาในเซลล์ได้ แล้วทำให้เซลล์รับกลิ่น[[ลดขั้ว]] (depolarized)
นอกจากนั้น Ca<sup>2+</sup> ที่เพิ่มขึ้นก็จะเปิดช่องไอออน Ca<sup>2+</sup>-gated Cl<sup>-</sup> channel ซึ่งขยายการลดขั้วของเซลล์ที่แพร่กระจายไปตามตัวเซลล์อย่างแพสซิฟจนถึงส่วน axon hillock ของตัวเซลล์ เป็นจุดที่สร้างศักยะงานอาศัยช่องไอออน voltage-regulated Na<sup>+</sup> channel เพื่อส่งไปยังป่องรับกลิ่น<ref name=Purves2008-p375-378>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = The Transduction of Olfactory Signals, pp. 375-378 }}</ref>


=== การลดการตอบสนองของเซลล์รับกลิ่น ===
=== การลดการตอบสนองของเซลล์รับกลิ่น ===
[[ไฟล์:Desensitization of olfactory neuron.jpg|thumb| การป้อนกลับในเชิงลบซึ่งลดการถ่ายโอนกลิ่นของเซลล์ประสาทรับกลิ่น กล่าวอีกอย่างก็คือ ลดการตอบสนองต่อกลิ่น ]]
[[ไฟล์:Desensitization of olfactory neuron.jpg|thumb| การป้อนกลับในเชิงลบซึ่งลดการถ่ายโอนกลิ่นของเซลล์ประสาทรับกลิ่น กล่าวอีกอย่างก็คือ ลดการตอบสนองต่อกลิ่น ]]
เซลล์ประสาทรับกลิ่นได้การป้อนกลับเชิงลบที่มีผลอย่างรวดเร็วเมื่อเกิด[[การลดขั้ว]]
เซลล์ประสาทรับกลิ่นได้การป้อนกลับเชิงลบที่มีผลอย่างรวดเร็วเมื่อเกิด[[การลดขั้ว]]
คือเมื่อเซลล์กำลังลดขั้ว ช่อง CNG ion channel ก็จะเปิดให้[[ไอออน]][[โซเดียม]]และ[[แคลเซียม]]ไหลเข้าไปในเซลล์
คือเมื่อเซลล์กำลังลดขั้ว ช่อง cyclic nucleotide-gated ion channel ก็จะเปิดให้[[ไอออน]][[โซเดียม]]และ[[แคลเซียม]]ไหลเข้าไปในเซลล์
การไหลเข้าของแคลเซียมจะเริ่มการทำงานเป็นลำดับภายในเซลล์
การไหลเข้าของแคลเซียมจะเริ่มการทำงานเป็นลำดับภายในเซลล์
คือ ในขั้นแรก แคลเซียมจะเข้ายึดกับ calmodulin รวมเป็น CaM
คือ ในขั้นแรก แคลเซียมจะเข้ายึดกับ calmodulin รวมเป็น CaM
ซึ่งก็จะเข้ายึดกับ CNG channel แล้วปิดช่อง ซึ่งหยุดการไหลเข้าของโซเดียมและแคลเซียม<ref>{{cite journal | last1 = Bradley | first1 = J | last2 = Reuter | first2 = D | last3 = Frings | first3 = S | year = 2001 | title = Facilitation of calmodulinmediated odor adaptation by cAMP-gated channel subunits | journal = Science | volume = 294 | pages = 2176-2178 | doi = 10.1126/science.1063415 | pmid = 11739960}}</ref>
ซึ่งก็จะเข้ายึดกับ cyclic nucleotide-gated ion channel แล้วปิดช่อง ซึ่งหยุดการไหลเข้าของโซเดียมและแคลเซียม<ref>{{cite journal | last1 = Bradley | first1 = J | last2 = Reuter | first2 = D | last3 = Frings | first3 = S | year = 2001 | title = Facilitation of calmodulinmediated odor adaptation by cAMP-gated channel subunits | journal = Science | volume = 294 | pages = 2176-2178 | doi = 10.1126/science.1063415 | pmid = 11739960}}</ref>
CaM ก็จะเริ่มการทำงานของ CaMKII ซึ่ง[[ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชัน|จะเพิ่มกลุ่ม Phosphoryl]] ให้กับ ACIII และลดการผลิต cAMP<ref>{{cite journal | last1 = Wei | first1 = J | last2 = Zhao | first2 = AZ | last3 = Chan | first3 = GC | last4 = Baker | first4 = LP | last5 = Impey | first5 = S | last6 = Beavo | first6 = JA | last7 = Storm | first7 = DR | year = 1998 | title = Phosphorylation and inhibition of olfactory adenylyl cyclase by CaM kinase II in Neurons: a mechanism for attenuation of olfactory signals | journal = Neuron | volume = 21 | pages = 495-504 | doi = 10.1016/s0896-6273(00)80561-9 | pmid = 9768837}}</ref>
CaM ก็จะเริ่มการทำงานของ CaMKII ซึ่ง[[ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชัน|จะเพิ่มกลุ่ม Phosphoryl]] ให้กับ ACIII และลดการผลิต cAMP<ref>{{cite journal | last1 = Wei | first1 = J | last2 = Zhao | first2 = AZ | last3 = Chan | first3 = GC | last4 = Baker | first4 = LP | last5 = Impey | first5 = S | last6 = Beavo | first6 = JA | last7 = Storm | first7 = DR | year = 1998 | title = Phosphorylation and inhibition of olfactory adenylyl cyclase by CaM kinase II in Neurons: a mechanism for attenuation of olfactory signals | journal = Neuron | volume = 21 | pages = 495-504 | doi = 10.1016/s0896-6273(00)80561-9 | pmid = 9768837}}</ref>
CaMKII ยังเริ่มการทำงานของ phosphodiesterase ซึ่งจะสลาย cAMP ด้วยน้ำ<ref>{{cite journal | last1 = Yan | first1 = C | last2 = Zhao | first2 = AZ | last3 = Bentley | first3 = JK | last4 = Loughney | first4 = K | last5 = Ferguson | first5 = K | last6 = Beavo | first6 = JA | year = 1995 | title = Molecular cloning and characterization of a calmodulin-dependent phosphodiesterase enriched in olfactory sensory neurons | journal = Proc Natl Acad Sci USA | volume = 92 | pages = 9677-9681 | doi = 10.1073/pnas.92.21.9677}}</ref>
CaMKII ยังเริ่มการทำงานของ phosphodiesterase ซึ่งจะสลาย cAMP ด้วยน้ำ<ref>{{cite journal | last1 = Yan | first1 = C | last2 = Zhao | first2 = AZ | last3 = Bentley | first3 = JK | last4 = Loughney | first4 = K | last5 = Ferguson | first5 = K | last6 = Beavo | first6 = JA | year = 1995 | title = Molecular cloning and characterization of a calmodulin-dependent phosphodiesterase enriched in olfactory sensory neurons | journal = Proc Natl Acad Sci USA | volume = 92 | pages = 9677-9681 | doi = 10.1073/pnas.92.21.9677}}</ref>
กระบวนการป้อนกลับเชิงลบจะมีผลยับยั้งไม่ให้เซลล์ตอบสนองเมื่อมีโมเลกุลกลิ่นเข้ามาอีก
กระบวนการป้อนกลับเชิงลบจะมีผลยับยั้งไม่ให้เซลล์ตอบสนองเมื่อมีโมเลกุลกลิ่นเข้ามาอีก


=== จำนวนกลิ่นที่แยกแยะได้ ===
== การแยกแยะกลิ่น ==
งานศึกษาที่ได้เผยแพร่อย่างกว้างขวางเสนอว่า มนุษย์สามารถตรวจจับกลิ่นได้กว่า 1 ล้านล้านกลิ่น<ref>{{cite journal | doi = 10.1126/science.1249168 | pmid = 24653035 | title = Humans Can Discriminate More than 1 Trillion Olfactory Stimuli | journal = Science | volume = 343 | issue = 6177 | year = 2014 | last1 = Bushdid | first1 = C. | last2 = Magnasco | first2 = M. O. | last3 = Vosshall | first3 = L. B. | last4 = Keller | first4 = A. | bibcode = 2014Sci...343.1370B | pages = 1370-2 | pmc = 4483192}}</ref>
งานศึกษาที่ได้เผยแพร่อย่างกว้างขวางเสนอว่า มนุษย์สามารถตรวจจับกลิ่นได้กว่า 1 ล้านล้านกลิ่น<ref>{{cite journal | doi = 10.1126/science.1249168 | pmid = 24653035 | title = Humans Can Discriminate More than 1 Trillion Olfactory Stimuli | journal = Science | volume = 343 | issue = 6177 | year = 2014 | last1 = Bushdid | first1 = C. | last2 = Magnasco | first2 = M. O. | last3 = Vosshall | first3 = L. B. | last4 = Keller | first4 = A. | bibcode = 2014Sci...343.1370B | pages = 1370-2 | pmc = 4483192}}</ref>
แต่นักวิชาการอื่นก็คัดค้านผลงานนี้
แต่นักวิชาการอื่นก็คัดค้านผลงานนี้
โดยอ้างว่า วิธีที่ใช้ประเมินมีข้อผิดพลาดโดยหลัก และแสดงว่า ถ้าใช้วิธีเดียวกันกับ[[ประสาทสัมผัส]]ที่มีข้อมูลและความเข้าใจที่ดีกว่า เช่นการเห็นหรือการได้ยิน ก็จะนำไปสู่ข้อสรุปผิด ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.07865 | title = On the dimensionality of odor space | last1 = Meister | first1 = Markus | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
โดยอ้างว่า วิธีที่ใช้ประเมินมีข้อผิดพลาดโดยหลัก และแสดงว่า ถ้าใช้วิธีเดียวกันกับ[[ประสาทสัมผัส]]ที่มีข้อมูลและความเข้าใจที่ดีกว่า เช่นการเห็นหรือการได้ยิน ก็จะนำไปสู่ข้อสรุปผิด ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.07865 | title = On the dimensionality of odor space | last1 = Meister | first1 = Markus | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
นักวิจัยอื่น ๆ แสดงแล้วด้วยว่า ผลที่ได้จะไวมากต่อรายละเอียดต่าง ๆ ในการคำนวณ
นักวิจัยอื่น ๆ แสดงแล้วด้วยว่า ผลคือจำนวณที่ได้จะไวมากต่อรายละเอียดต่าง ๆ ในการคำนวณ
และความแตกต่างเล็ก ๆ น้อย ๆ จะเปลี่ยนผลที่ได้โดยเป็น[[อันดับของขนาด]]เริ่มตั้งแต่ถึงโหล ๆ จนถึง 2-3 พัน<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.08127 | title = The number of olfactory stimuli that humans can discriminate is still unknown | first1 = Richard C. | last1 = Gerkin | first2 = Jason B. | last2 = Castro | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
และความแตกต่างเล็ก ๆ น้อย ๆ จะเปลี่ยนผลที่ได้โดยเป็น[[อันดับของขนาด]]เริ่มตั้งแต่ถึงโหล ๆ จนถึง 2-3 พัน<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.08127 | title = The number of olfactory stimuli that humans can discriminate is still unknown | first1 = Richard C. | last1 = Gerkin | first2 = Jason B. | last2 = Castro | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
ส่วนนักวิชาการในงานศึกษาแรกก็ได้อ้างว่า ค่าประเมินของตนจะใช้ได้ตราบเท่าที่สามารถสมมุติได้ว่า โมเลกุลกลิ่นมีจำนวน[[มิติ]]ต่าง ๆ อย่างเพียงพอ<ref>{{Cite doi | 10.1101/022130}} {{PDFlink |[https://www.biorxiv.org/content/biorxiv/early/2015/07/06/022103.full.pdf Full Article] |241&nbsp;KB}}<!-- Marcelo O. Magnasco, Andreas Keller, and Leslie B. Vosshall (2015-07-06) On the dimensionality of olfactory space--> </ref>
ส่วนนักวิชาการในงานศึกษาแรกก็ได้อ้างว่า ค่าประเมินของตนจะใช้ได้ตราบเท่าที่สามารถสมมุติได้ว่า โมเลกุลกลิ่นมีจำนวน[[มิติ]]ต่าง ๆ อย่างเพียงพอ<ref>{{Cite doi | 10.1101/022130}} {{PDFlink |[https://www.biorxiv.org/content/biorxiv/early/2015/07/06/022103.full.pdf Full Article] |241&nbsp;KB}}<!-- Marcelo O. Magnasco, Andreas Keller, and Leslie B. Vosshall (2015-07-06) On the dimensionality of olfactory space--> </ref>

นักเคมีเกี่ยวกับกลิ่นได้ประเมินว่า มนุษย์อาจสามารถแยกแยะกลิ่น[[ระเหย]]ได้ถึง 10,000 รูปแบบ โดยที่ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับของหอมอาจแยกแยะกลิ่นได้ถึง 5,000 ชนิด และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ[[ไวน์]]อาจแยกแยะส่วนผสมได้ถึง 100 อย่าง<ref name=Kandel2013-p712-713>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | pp = 712-713 }}</ref>
โดยสามารถรู้กลิ่นต่าง ๆ ได้ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ กัน เช่น สามารถรู้กลิ่นสารกลิ่นหลักของ[[พริกชี้ฟ้า]] คือ (2-isobutyl-3-methoxypyrazine) ในอากาศที่ความเข้มข้น 0.01 [[นาโนโมล]] ซึ่งประมาณเท่ากับ 1 [[โมเลกุล]]ต่อ 1,000 ล้านโมเลกุล สามารถรู้กลิ่น[[เอทานอล]]ที่ความเข้มข้น 2 [[มิลลิโมล]]
และสามารถรู้กลิ่นโครงสร้างทางเคมีที่ต่างกันเล็กน้อยในระดับโมเลกุล เช่น D-carvone และ L-carvone จะมีกลิ่นเหมือน[[เทียนตากบ]]และ[[มินต์ (พืช)|มินต์]]ตามลำดับ<ref name=Purves2008-p365-368 />

ถึงกระนั้น การได้กลิ่นก็พิจารณาว่าเป็นประสาทสัมผัสที่แย่ที่สุดอย่างหนึ่งในมนุษย์ โดยมีสัตว์อื่น ๆ ที่รู้กลิ่นได้ดีกว่า เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกินกว่าครึ่ง ซึ่งอาจเป็นเพราะมนุษย์มีประเภท[[หน่วยรับกลิ่น]]ที่น้อยกว่า และมีเขตใน[[สมองส่วนหน้า]]ที่อุทิศให้กับการแปลผลข้อมูลกลิ่นที่เล็กกว่าโดยเปรียบเทียบ<ref name=Purves2008-p365-368>
{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Olfactory Perception in Humans, pp. 365-368 }}</ref><ref>
{{harvnb | Saladin |2010a | loc = Smell: Physiology, pp. 597-599 (613-615) }}</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 69: บรรทัด 99:


== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}
{{รายการอ้างอิง |30em}}

== แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ ==
;''Neuroscience'' (2008)
* {{cite book | ref = {{harvid |Purves et al |2008a}} | year = 2008a | title = Neuroscience | chapter = 15 - The Chemical Senses | pp = 363-393 | edition = 4th | editors = Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E | publisher = Sinauer Associates | isbn = 978-0-87893-697-7}}
;''Principles of Neural Science'' (2013)
* {{cite book | ref = harv | last1 = Buck | first1 = Linda B | last2 = Bargmann | first2 = Cornelia I | year = 2013 | title = Principles of Neural Science | edition = 5th | editors = Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ | location = United State of America | publisher = McGraw-Hill | isbn = 978-0-07-139011-8 | chapter = 32 - Smell and Taste: The Chemical Senses | pages = 712-734 }}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:35, 12 มีนาคม 2561

เซลล์ประสาทรับกลิ่น
(Olfactory receptor neuron)
รายละเอียด
ที่ตั้งเยื่อรับกลิ่นในจมูก
รูปร่างปลายประสาทรับความรู้สึกแบบสองขั้ว (Bipolar sensory receptor)
หน้าที่ตรวจจับร่องรอยสารเคมีในอากาศที่สูดเข้า (เพื่อได้กลิ่น)
สารส่งผ่านประสาทกลูตาเมต[1]
การเชื่อมก่อนจุดประสานประสาทไม่มี
การเชื่อมหลังจุดประสานประสาทป่องรับกลิ่น (Olfactory bulb)
ตัวระบุ
MeSHD018034
นิวโรเล็กซ์ IDnifext_116
THH3.11.07.0.01003
FMA67860
ศัพท์ทางกายวิภาคของประสาทกายวิภาคศาสตร์
แผนภาพของเซลล์ประสาทรับกลิ่น

เซลล์ประสาทรับกลิ่น (อังกฤษ: olfactory receptor neuron ตัวย่อ ORN, olfactory sensory neuron ตัวย่อ OSN) เป็นเซลล์ที่ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทภายในระบบรับกลิ่น[2] เป็นเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อรับกลิ่นที่บุบางส่วนของโพรงจมูก (ประมาณ 5 ซม2 ในมนุษย์) บริเวณยอดเซลล์จะมีเส้นขนเล็ก ๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่จับโมเลกุลกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก เซลล์จะถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทแล้วส่งผ่านเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ซึ่งวิ่งผ่านรูในกระดูก cribriform plate เหนือโพรงจมูกขึ้นไปยังป่องรับกลิ่นในสมอง[3] การรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่นสุนัข ซึ่งมีประสาทรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม

โครงสร้างและการทำงาน

มนุษย์มีเซลล์ประสาทรับกลิ่นประมาณ 12 ล้านตัว[4] ซึ่งจะเปลี่ยนทุก ๆ 30-60 วันทดแทนด้วยเซลล์ต้นกำเนิดชั้นฐาน (basal stem cell) ที่พัฒนากลายเป็นเซลล์ประสาทรับกลิ่น[3] เทียบกับหนูที่มี 15 ล้านตัว[5] กับสุนัขทั่วไปที่มี 125-220 ล้านตัว และกับสุนัขบลัดฮาวด์ที่มีถึง 300 ล้านตัว[6]

เซลล์จะเป็นแบบเซลล์ประสาทสองขั้วโดยมีเดนไดรต์งอกออกจากส่วนยอดและหันออกจากแผ่นกระดูกพรุน (cribriform plate) และมีแอกซอนซึ่งไม่หุ้มปลอกไมอีลินและงอกออกจากส่วนฐานแล้ววิ่งผ่านรูแผ่นกระดูกขึ้นไปสุดที่ป่องรับกลิ่น (olfactory bulb) ซีกร่างกายเดียวกันในสมอง ตัวเซลล์จะอยู่ที่เยื่อรับกลิ่น (olfactory epithelium) ในช่องจมูก โดยกระจายไปตามชั้นทั้งสามของเนื้อเยื่อ[7] แอกซอนจากฐานจะรวมตัวกันเป็นมัดใยประสาทจำนวนมากที่รวม ๆ กันเรียกว่า ฆานประสาท (olfactory nerve, CN I) ก่อนจะวิ่งผ่านรูกระดูกพรุน[8]

ไม่เหมือนกับเซลล์ประสาทรับความรู้สึกอื่น ๆ เช่น เซลล์รับแสงในจอตา และเซลล์ขนในคอเคลีย เซลล์ประสาทรับกลิ่นเองมีแอกซอนคือสามารถส่งศักยะงานไปยังระบบประสาทส่วนกลางโดยไม่ต้องอาศัยเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่ง[9] นอกจากนั้น เซลล์ยังส่งสัญญาณไปยังระบบประสาทส่วนกลางคือป่องรับกลิ่นโดยไม่ผ่านทาลามัสเหมือนกับระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ อีกด้วย โดยป่องรับกลิ่นจะทำหน้าที่นี้แทนทาลามัส[10]

เซลล์รับกลิ่นแต่ละตัวจะแสดงออกหน่วยรับกลิ่นเพียงแค่ชนิดเดียว แต่เซลล์หลายตัวจะแสดงออกหน่วยรับกลิ่นชนิดเดียวกันซึ่งจับกับโมเลกุลกลิ่นแบบเดียวกัน เซลล์รับกลิ่นที่มีหน่วยรับกลิ่นประเภทเดียวกันนี้จะอยู่จำกัดภายในโซนหลายโซนของเยื่อรับกลิ่นโดยกระจายไปอย่างสุ่มในโซนนั้น ๆ แอกซอนของเซลล์รับกลิ่นต่าง ๆ ที่มีหน่วยรับกลิ่นชนิดเดียวกัน จะวิ่งรวมเข้าที่โกลเมอรูลัส (glomerulus) โดยเฉพาะ ๆ ของป่องรับกลิ่นในซีกร่างกายเดียวกัน[11] และปกติจะส่งแอกซอนไปยังโกลเมอรูลัสเป็นคู่ในป่องรับกลิ่น โกลเมอรูลัสแต่ละอันจะอยู่ด้านตรงข้ามของป่องโดยมีเส้นแบ่งข้างวิ่งผ่านป่องในแนวทแยง[12]

ซีเลีย

ซีเลียที่คล้ายขนเล็ก ๆ จำนวนมากจะยื่นออกจากเดนไดรต์อันเดียวของเซลล์รับกลิ่นส่วนยอด เข้าไปในชั้นเมือกหนาที่ปกคลุมผิวของเยื่อรับกลิ่น ผิวของซิเลียจะปกคลุมด้วยโปรตีนหน่วยรับกลิ่น (olfactory receptor, ตัวย่อ OR) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของ G protein-coupled receptor หน่วยรับกลิ่นจะมีกลไกในการขยายสัญญาณกลิ่นและถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาท[3]

ซีเลียของเซลล์รับกลิ่นไม่มีโครงสร้างเหมือนกับซีเลียที่เคลื่อนที่ได้ (คือที่เป็นไมโครทิวบูลแบบ 9+2) แม้รูปอาจจะเหมือน แต่ซีเลียของเซลล์กลับสมบูรณ์ไปด้วยแอกตินและเหมือนกับ microvilli ของเยื่อบุผิวอื่น ๆ มากกว่า เช่นดังที่พบในปอดหรือในลำไส้ เป็นโครงสร้างที่ช่วยขยายขนาดพื้นที่ในการรับกลิ่นเป็นอย่างมาก มีโปรตีนหน่วยรับกลิ่นหลายอย่างที่จำเป็นในการถ่ายโอนสัญญาณกลิ่นเป็นกระแสประสาท และพบอย่างหนาแน่นหรือโดยส่วนเดียวที่ซีเลียของเซลล์รับกลิ่น[13]

หน่วยรับกลิ่นและกลไกการทำงาน

หน่วยรับกลิ่นซึ่งอยู่ที่เยื่อหุ้มซีเลีย ได้ระบุแล้วว่าเป็นช่องไอออนแบบ ligand-gated metabotropic channels[14] มียีนประมาณ 1,000 ยีนที่เข้ารหัสตัวรับความรู้สึกในมนุษย์ ทำให้เป็นกลุ่มยีนขนาดใหญ่ที่สุดในดีเอ็นเอมนุษย์ โมเลกุลกลิ่นจะละลายในเมือกของเยื่อรับความรู้สึกแล้วจับกับหน่วยรับความรู้สึก โดยแต่ละหน่วยสามารถจับกับโมเลกุลกลิ่นได้หลายชนิด แม้จะมีสัมพรรคภาพต่อกลิ่นต่าง ๆ ไม่เท่ากัน ความต่าง ๆ ทางสัมพรรคภาพเช่นนี้ จะเป็นเหตุเกิดการตอบสนองในรูปแบบต่าง ๆ เป็นโปรไฟล์การตอบสนองต่อกลิ่นโดยเฉพาะ ๆ[15][16]

หน่วยรับกลิ่นที่จับกับโมเลกุลกลิ่นจะทำให้เกิดการส่งสัญญาณเป็นลำดับภายในเซลล์ ซึ่งในที่สุดก็ทำให้เซลล์ลดขั้วแล้วส่งศักยะงานไปยังป่องรับกลิ่น[17] โดยรายละเอียดก็คือ เมื่อจับกับกลิ่นแล้ว หน่วยรับกลิ่นจะเปลี่ยนโครงสร้างแล้วเริ่มการทำงานของ G protein ภายในเซลล์รับกลิ่นซึ่งอยู่ที่ปลาย carboxyl ของหน่วยรับกลิ่น G protein (Golf และ/หรือ Gs)[18] ซึ่งเป็นประเภทที่เฉพาะต่อระบบรับกลิ่น ก็จะเริ่มการทำงานของเอนไซม์ adenylate cyclase III (ACIII) ซึ่งเป็นเอนไซม์เฉพาะในระบบรับกลิ่นเช่นกัน และเพิ่มการปล่อย cyclic AMP (cAMP) ซึ่งทำหน้าที่เป็น second messenger โดยอาศัยอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) cAMP ก็จะเปิดช่องไอออน cyclic nucleotide-gated ion channel ทำให้ไอออนแคลเซียม (Na+) และโซเดียม (Ca2+) ซึมเข้ามาในเซลล์ได้ แล้วทำให้เซลล์รับกลิ่นลดขั้ว (depolarized) นอกจากนั้น Ca2+ ที่เพิ่มขึ้นก็จะเปิดช่องไอออน Ca2+-gated Cl- channel ซึ่งขยายการลดขั้วของเซลล์ที่แพร่กระจายไปตามตัวเซลล์อย่างแพสซิฟจนถึงส่วน axon hillock ของตัวเซลล์ เป็นจุดที่สร้างศักยะงานอาศัยช่องไอออน voltage-regulated Na+ channel เพื่อส่งไปยังป่องรับกลิ่น[19]

การลดการตอบสนองของเซลล์รับกลิ่น

การป้อนกลับในเชิงลบซึ่งลดการถ่ายโอนกลิ่นของเซลล์ประสาทรับกลิ่น กล่าวอีกอย่างก็คือ ลดการตอบสนองต่อกลิ่น

เซลล์ประสาทรับกลิ่นได้การป้อนกลับเชิงลบที่มีผลอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดการลดขั้ว คือเมื่อเซลล์กำลังลดขั้ว ช่อง cyclic nucleotide-gated ion channel ก็จะเปิดให้ไอออนโซเดียมและแคลเซียมไหลเข้าไปในเซลล์ การไหลเข้าของแคลเซียมจะเริ่มการทำงานเป็นลำดับภายในเซลล์ คือ ในขั้นแรก แคลเซียมจะเข้ายึดกับ calmodulin รวมเป็น CaM ซึ่งก็จะเข้ายึดกับ cyclic nucleotide-gated ion channel แล้วปิดช่อง ซึ่งหยุดการไหลเข้าของโซเดียมและแคลเซียม[20] CaM ก็จะเริ่มการทำงานของ CaMKII ซึ่งจะเพิ่มกลุ่ม Phosphoryl ให้กับ ACIII และลดการผลิต cAMP[21] CaMKII ยังเริ่มการทำงานของ phosphodiesterase ซึ่งจะสลาย cAMP ด้วยน้ำ[22] กระบวนการป้อนกลับเชิงลบจะมีผลยับยั้งไม่ให้เซลล์ตอบสนองเมื่อมีโมเลกุลกลิ่นเข้ามาอีก

การแยกแยะกลิ่น

งานศึกษาที่ได้เผยแพร่อย่างกว้างขวางเสนอว่า มนุษย์สามารถตรวจจับกลิ่นได้กว่า 1 ล้านล้านกลิ่น[23] แต่นักวิชาการอื่นก็คัดค้านผลงานนี้ โดยอ้างว่า วิธีที่ใช้ประเมินมีข้อผิดพลาดโดยหลัก และแสดงว่า ถ้าใช้วิธีเดียวกันกับประสาทสัมผัสที่มีข้อมูลและความเข้าใจที่ดีกว่า เช่นการเห็นหรือการได้ยิน ก็จะนำไปสู่ข้อสรุปผิด ๆ[24] นักวิจัยอื่น ๆ แสดงแล้วด้วยว่า ผลคือจำนวณที่ได้จะไวมากต่อรายละเอียดต่าง ๆ ในการคำนวณ และความแตกต่างเล็ก ๆ น้อย ๆ จะเปลี่ยนผลที่ได้โดยเป็นอันดับของขนาดเริ่มตั้งแต่ถึงโหล ๆ จนถึง 2-3 พัน[25] ส่วนนักวิชาการในงานศึกษาแรกก็ได้อ้างว่า ค่าประเมินของตนจะใช้ได้ตราบเท่าที่สามารถสมมุติได้ว่า โมเลกุลกลิ่นมีจำนวนมิติต่าง ๆ อย่างเพียงพอ[26]

นักเคมีเกี่ยวกับกลิ่นได้ประเมินว่า มนุษย์อาจสามารถแยกแยะกลิ่นระเหยได้ถึง 10,000 รูปแบบ โดยที่ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับของหอมอาจแยกแยะกลิ่นได้ถึง 5,000 ชนิด และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับไวน์อาจแยกแยะส่วนผสมได้ถึง 100 อย่าง[27] โดยสามารถรู้กลิ่นต่าง ๆ ได้ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ กัน เช่น สามารถรู้กลิ่นสารกลิ่นหลักของพริกชี้ฟ้า คือ (2-isobutyl-3-methoxypyrazine) ในอากาศที่ความเข้มข้น 0.01 นาโนโมล ซึ่งประมาณเท่ากับ 1 โมเลกุลต่อ 1,000 ล้านโมเลกุล สามารถรู้กลิ่นเอทานอลที่ความเข้มข้น 2 มิลลิโมล และสามารถรู้กลิ่นโครงสร้างทางเคมีที่ต่างกันเล็กน้อยในระดับโมเลกุล เช่น D-carvone และ L-carvone จะมีกลิ่นเหมือนเทียนตากบและมินต์ตามลำดับ[28]

ถึงกระนั้น การได้กลิ่นก็พิจารณาว่าเป็นประสาทสัมผัสที่แย่ที่สุดอย่างหนึ่งในมนุษย์ โดยมีสัตว์อื่น ๆ ที่รู้กลิ่นได้ดีกว่า เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกินกว่าครึ่ง ซึ่งอาจเป็นเพราะมนุษย์มีประเภทหน่วยรับกลิ่นที่น้อยกว่า และมีเขตในสมองส่วนหน้าที่อุทิศให้กับการแปลผลข้อมูลกลิ่นที่เล็กกว่าโดยเปรียบเทียบ[28][29]

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Berkowicz, D. A.; Trombley, P. Q.; Shepherd, G. M. (1994). "Evidence for glutamate as the olfactory receptor cell neurotransmitter". Journal of Neurophysiology. 71 (6): 2557–61. PMID 7931535.
  2. Vermeulen, A; Rospars, J. P. (1998). "Dendritic integration in olfactory sensory neurons: A steady-state analysis of how the neuron structure and neuron environment influence the coding of odor intensity". Journal of computational neuroscience. 5 (3): 243–66. PMID 9663551.
  3. 3.0 3.1 3.2 Buck & Bargmann 2013, A Large Number of Olfactory Receptor Proteins Initiate the Sense of Smell, 713-716
  4. Purves et al 2008a, Figure 15.2 Odorant perception in mammals., p. 366
  5. Purves et al 2008a, Figure 15.2 Odorant perception in mammals, p. 366
  6. Coren, Stanley (2004). How Dogs Think. First Free Press, Simon & Schuster. pp. 0-7432–2232-6.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  7. Cunningham, A.M.; Manis, P.B.; Reed, R.R.; Ronnett, G.V. (1999). "Olfactory receptor neurons exist as distinct subclasses of immature and mature cells in primary culture". Neuroscience. 93 (4): 1301–12. doi:10.1016/s0306-4522(99)00193-1. PMID 10501454.
  8. Purves et al 2008a, Figure 15.1-Organization of the human olfactory system, p. 364
  9. Purves et al 2008a, The Olfactory Bulb, pp. 378-381
  10. Purves et al 2008a, The Organization of the Olfactory System, pp. 363-365
  11. McEwen, D. P (2008). "Olfactory cilia: our direct neuronal connection to the external world". Curr. Top. Dev. Biol. 85: 333–370. doi:10.1016/S0070-2153(08)00812-0.
  12. Buck & Bargmann 2013a, Sensory Inputs in the Olfactory Bulb Are Arranged by Receptor Type, pp. 717-719
  13. Purves et al 2008a, Olfactory Epithelium and Olfactory Receptor Neurons, pp. 369-372
  14. Touhara, Kazushige (2009). "Insect Olfactory Receptor Complex Functions as a Ligand-gated Ionotropic Channel". Annals of the New York Academy of Sciences. 1170: 177–80. Bibcode:2009NYASA1170..177T. doi:10.1111/j.1749-6632.2009.03935.x. PMID 19686133.
  15. Bieri, S.; Monastyrskaia, K; Schilling, B (2004). "Olfactory Receptor Neuron Profiling using Sandalwood Odorants". Chemical Senses. 29 (6): 483–7. doi:10.1093/chemse/bjh050. PMID 15269120.
  16. Fan, Jinhong; Ngai, John (2001). "Onset of Odorant Receptor Gene Expression during Olfactory Sensory Neuron Regeneration". Developmental Biology. 229 (1): 119–27. doi:10.1006/dbio.2000.9972. PMID 11133158.
  17. Buck & Bargmann 2013, Mammals Share a Large Family of Odorant Receptors, 714-715
  18. Jones, DT; Reed, RR (1989-05). "Golf: an olfactory neuron specific-G protein involved in odorant signal transduction". Science. 244 (4906): 790–5. Bibcode:1989Sci...244..790J. doi:10.1126/science.2499043. PMID 2499043. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  19. Purves et al 2008a, The Transduction of Olfactory Signals, pp. 375-378
  20. Bradley, J; Reuter, D; Frings, S (2001). "Facilitation of calmodulinmediated odor adaptation by cAMP-gated channel subunits". Science. 294: 2176–2178. doi:10.1126/science.1063415. PMID 11739960.
  21. Wei, J; Zhao, AZ; Chan, GC; Baker, LP; Impey, S; Beavo, JA; Storm, DR (1998). "Phosphorylation and inhibition of olfactory adenylyl cyclase by CaM kinase II in Neurons: a mechanism for attenuation of olfactory signals". Neuron. 21: 495–504. doi:10.1016/s0896-6273(00)80561-9. PMID 9768837.
  22. Yan, C; Zhao, AZ; Bentley, JK; Loughney, K; Ferguson, K; Beavo, JA (1995). "Molecular cloning and characterization of a calmodulin-dependent phosphodiesterase enriched in olfactory sensory neurons". Proc Natl Acad Sci USA. 92: 9677–9681. doi:10.1073/pnas.92.21.9677.
  23. Bushdid, C.; Magnasco, M. O.; Vosshall, L. B.; Keller, A. (2014). "Humans Can Discriminate More than 1 Trillion Olfactory Stimuli". Science. 343 (6177): 1370–2. Bibcode:2014Sci...343.1370B. doi:10.1126/science.1249168. PMC 4483192. PMID 24653035.
  24. Meister, Markus. "On the dimensionality of odor space". eLife. 4. doi:10.7554/eLife.07865.
  25. Gerkin, Richard C.; Castro, Jason B. "The number of olfactory stimuli that humans can discriminate is still unknown". eLife. 4. doi:10.7554/eLife.08127.
  26. doi:10.1101/022130
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand Full Article PDF (241 KB)
  27. Buck & Bargmann 2013, pp. 712–713
  28. 28.0 28.1 Purves et al 2008a, Olfactory Perception in Humans, pp. 365-368
  29. Saladin 2010a, Smell: Physiology, pp. 597-599 (613-615)

แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ

Neuroscience (2008)
  • "15 - The Chemical Senses". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. 2008a. pp. 363–393. ISBN 978-0-87893-697-7. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)
Principles of Neural Science (2013)
  • Buck, Linda B; Bargmann, Cornelia I (2013). "32 - Smell and Taste: The Chemical Senses". Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. pp. 712–734. ISBN 978-0-07-139011-8. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น