ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟรเออร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bandai153 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 7492166 สร้างโดย Bandai153 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต ==
== ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต ==
ทั้ง'''ไฟรเออร์'''และ[[นักพรต]] (monk) ต่างเป็น[[นักบวชคาทอลิก]] แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรเออร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรก ๆ ไฟรเออร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรเออร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair">[http://www.newadvent.org/cathen/06280b.htm Friar]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref> ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตร[[การอธิษฐานในศาสนาคริสต์|การอธิษฐาน]] (prayer) การ[[ภาวนา]] (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่า[[อาราม]]ซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: monk">[http://www.newadvent.org/cathen/10487b.htm monk]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref>
ทั้ง'''ไฟรเออร์'''และ[[นักพรต]] (monk) ต่างเป็น[[นักบวชคาทอลิก]] แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรเออร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรก ๆ ไฟรเออร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรเออร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: frair">[http://www.newadvent.org/cathen/06280b.htm Friar]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref> ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตร[[การอธิษฐานในศาสนาคริสต์|การอธิษฐาน]] (prayer) [[การเพ่งพินิจ]] (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่า[[อาราม]]ซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: monk">[http://www.newadvent.org/cathen/10487b.htm monk]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554</ref>


== คณะนักบวชไฟรเออร์ ==
== คณะนักบวชไฟรเออร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:09, 6 มีนาคม 2561

ไฟรเออร์คณะออกัสติเนียนรีคอลเลกต์

ไฟรเออร์[1] (อังกฤษ: Friar) เป็นนักบวชคาทอลิกประเภทหนึ่ง ซึ่งสังกัดคณะนักบวชภิกขาจาร คำว่า ไฟรเออร์ มาจากภาษาอังกฤษ Friar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศส frère และภาษาละติน frater แปลว่า ภราดา (พี่น้องชาย) เป็นคำที่คริสตชนยุคแรกใช้เรียกกันภายในกลุ่มเพื่อแสดงความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีจึงนำคำนี้มาใช้เป็นชื่อคณะนักบวชที่ตนเองก่อตั้งขึ้น ว่า Ordo Fratrum Minorum (ในประเทศไทยแปลกันว่า คณะภราดาน้อย) ต่อมาคำว่าไฟรเออร์จึงแพร่หลายไปใช้กับคณะนักบวชอื่น ๆ (เฉพาะบางคณะ)

ข้อแตกต่างระหว่างไฟรอาร์กับนักพรต

ทั้งไฟรเออร์และนักพรต (monk) ต่างเป็นนักบวชคาทอลิก แต่มีวัตรปฏิบัติต่างกัน ไฟรเออร์เป็นนักบวชที่เน้นวัตรด้านเผยแพร่ศาสนา ในยุคแรก ๆ ไฟรเออร์ไม่มีที่พักประจำ แต่จะเร่ร่อนไปเรื่อยๆ ดำรงชีวิตโดยขอปัจจัยยังชีพจากประชาชน ไฟรเออร์จึงมีความเป็นอยู่ใกล้ชิตกับสังคมมาก[2] ขณะที่นักพรตจะเน้นวัตรการอธิษฐาน (prayer) การเพ่งพินิจ (contemplation) มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งเรียกว่าอารามซึ่งแยกต่างหากจากสังคม ยังชีพด้วยการเกษตรเลี้ยงตนเองภายในอารามนั้น[3]

คณะนักบวชไฟรเออร์

ตามสภาสังคายนาลียงครั้งที่สอง ระบุว่าคณะไฟรเออร์แบ่งเป็น 2 ชั้น คือคณะใหญ่ 4 คณะ [2] ได้แก่

คณะเล็กมี 10 คณะ [2] ได้แก่

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ :เอเชีย เล่ม 3 อักษร E-G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2552
  2. 2.0 2.1 2.2 Friar. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554
  3. monk. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 4 มี.ค. พ.ศ. 2554