ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเอสโตเนีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kimjiho2015 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปี[[พ.ศ. 2461]] ก่อนจะถูกยึดครองโดย[[สหภาพโซเวียต]] [[นาซีเยอรมนี]] และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจาก[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วม[[องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ]]และ[[สหภาพยุโรป]]
เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปี[[พ.ศ. 2461]] ก่อนจะถูกยึดครองโดย[[สหภาพโซเวียต]] [[นาซีเยอรมนี]] และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจาก[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วม[[องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ]]และ[[สหภาพยุโรป]]


== ภูมิศาสตร์ ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
=== ภูมิประเทศ ===

=== ภูมิอากาศ ===

== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์เอสโตเนีย}}
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
{{บทความหลัก|เอสโตเนียยุคโบราณ|สงครามครูเสดลิโวเนีย}}

=== ยุคกลาง ===
{{บทความหลัก|สงครามครูเสดลิโวเนีย|ดัชชีเอสโตเนีย (พ.ศ.1762–1849)}}

=== อาณัติของสวีเดน ===
{{บทความหลัก|เอสโตเนียสวีเดน}}

=== เอสโตเนียภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย ===
{{บทความหลัก|เขตผู้ว่าการเอสโตเนีย|เขตผู้ว่าการลิโวเนีย}}

=== การประกาศเอกราช ===
{{บทความหลัก|สงครามประกาศเอกราชเอสโตเนีย}}

=== สงครามโลกครั้งที่ 2 ===
{{บทความหลัก|เอสโตเนียในสงครามโลกครั้งที่ 2|การบุกครองรัฐบอลติก}}

=== คอมมิวนิสต์โซเวียต ===
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย|ลัทธิสตาลิน}}

=== การประกาศเอกราช ค.ศ. 1991 ===
{{บทความหลัก|การปฏิวัติร้องเพลง|บอลติกเวย์}}

== การเมืองการปกครอง ==
=== บริหาร ===
{{โครง-ส่วน}}

=== นิติบัญญัติ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== ตุลาการ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สิทธิมนุษยชน ===
{{โครง-ส่วน}}

=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
[[ไฟล์:Estonia, administrative divisions - th - colored 2017.svg|400px|เทศมณฑลของเอสโตเนีย]]
[[ไฟล์:Estonia, administrative divisions - th - colored 2017.svg|400px|เทศมณฑลของเอสโตเนีย]]
* [[เทศมณฑลฮาร์ยู]] (Harju) มีเมืองหลักคือ [[ทาลลินน์]]
* [[เทศมณฑลฮาร์ยู]] (Harju) มีเมืองหลักคือ [[ทาลลินน์]]
บรรทัด 92: บรรทัด 136:
* [[เทศมณฑลเวอรู]] (Võru) มีเมืองหลักคือ [[เวอรู]]
* [[เทศมณฑลเวอรู]] (Võru) มีเมืองหลักคือ [[เวอรู]]


=== ต่างประเทศ ===
== วัฒนธรรม ==
==== นโยบายต่อสหภาพยุโรป ====
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมเอสโตเนีย}}


==== นโยบายต่อองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ====
=== สถาปัตยกรรม ===

==== การเข้าร่วมองค์การในภูมิภาค ====
==== ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับประเทศไทย ====
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|เอสโตเนีย – ไทย|เอสโตเนีย|ไทย|map=Estonia Thailand Locator.png}}
* การเมือง
เอสโตเนียพร้อมที่จะขยายความร่วมมือกับไทยในทุก ๆ ด้าน ทั้งในกรอบทวิภาคีและกรอบพหุภาคี ในด้านความสัมพันธ์ทางการทูต ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นโดยมีการแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างผู้นำของทั้งสองประเทศอย่างสม่ำเสมอในโอกาสสำคัญๆ อาทิเช่น การเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีของเอสโตเนีย เป็นต้น นอกจากนี้ ทั้งสองประเทศยังได้สนับสนุนการดำเนินงานในกรอบเวทีการเมืองประเทศระหว่างกัน โดยเฉพาะการให้ความสนับสนุนของเอสโตเนียต่อผู้สมัครของไทยในองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ เป็นต้น

* การทูต
ไทยประกาศรับรองรัฐลัตเวียเมื่อวันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2534]] พร้อมกับการประกาศรับรองรัฐเอสโตเนีย และลิทัวเนีย ต่อมาเมื่อวันที่ [[19 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2535]] ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการให้ไทยดำเนินการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับลัตเวีย และให้มีการแลกเปลี่ยนผู้แทนทางการทูต ในระดับเอกอัครราชทูตระหว่างกัน โดยให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุง[[สตอกโฮล์ม]] มีเขตอาณาครอบคลุม[[ฟินแลนด์]] ลัตเวียและเอสโตเนีย โดยนายสุจินดา ยงสุนทรเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม ได้เดินทางไปยื่นพระราชสาส์นตราตั้งเป็นเอกอัครราชทูตคนแรกประจำลัตเวีย เมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2537]] และต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2544]]เห็นชอบให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออลโล มีเขตอาณาครอบคลุมลัตเวียแทนสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม และปัจจุบันเอกอัครราชทูต ณ กรุง[[ออสโล]] เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำลัตเวีย อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย สำหรับ ลัตเวียยังมิได้ตั้งสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทย แต่ได้จัดตั้ง[[สถานกงสุล]]กิตติมศักดิ์ประจำประเทศไทย โดยมีนายประสงค์ จงรัตนากุล ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ลัตเวียประจำประเทศไทยตั้งแต่วันที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]]

* การค้าและเศรษฐกิจ
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


* การศึกษาและวิชาการ
=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}

* วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
{{โครง-ส่วน}}

=== กองทัพ ===
{{บทความหลัก|กองทัพเอสโตเนีย}}

== เศรษฐกิจการค้า ==
=== โครงสร้าง ===
{{โครง-ส่วน}}

== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== ทรัพยากร ===
{{โครง-ส่วน}}

=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
แม้ว่าจะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของโซเวียต แต่ในระหว่างนั้นเอสโตเนียก็มีความก้าวหน้าในเรื่องของเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงไม่แปลกใจที่[[สไกป์]]ได้ก่อกำเนิดขึ้นที่นี่<ref>[http://www.basees2016.org/abstracts/Schumpeter%20-%20Chutinon.pdf Putthiwanit, C., An Analysis of Joseph Schumpeter's Life, Concept of Innovation, and Application for Estonia, British Association for Slavonic and East European Studies International Conference, Fitzwilliam College, University of Cambridge, UK, 2 – 4 April 2016]</ref>

== คมนาคม และ โทรคมนาคม ==
{{โครง-ส่วน}}

=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในประเทศอิตาลี}}

== ประชากรศาสตร์ ==
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศเอสโตเนีย}}


=== ภาษา ===
=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในประเทศเอสโตเนีย}}
หลายคนที่มาประเทศกลุ่มบอลติก (ลัตเวีย เอสโตเนีย และลิทัวเนีย) ใหม่ ๆ และไม่มีความรู้ภาษารัสเซีย จะมีปัญหาค่อนข้างเยอะในการพิมพ์ภาษาเหล่านี้ เนื่องจากเป็นภาษาที่คนพูดน้อยและหาคนเรียนยาก อย่างไรก็ตามภาษาในกลุ่มนี้แตกต่างจากภาษารัสเซียโดยสิ้นเชิงทั้งทางการเขียนและไวยากรณ์ (มีบ้างที่ยืมคำมาจากภาษารัสเซีย) ภาษาเอสโตเนียนนั้นจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟินแลนด์ของชาวฟินแลนด์<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>
หลายคนที่มาประเทศกลุ่มบอลติก (ลัตเวีย เอสโตเนีย และลิทัวเนีย) ใหม่ ๆ และไม่มีความรู้ภาษารัสเซีย จะมีปัญหาค่อนข้างเยอะในการพิมพ์ภาษาเหล่านี้ เนื่องจากเป็นภาษาที่คนพูดน้อยและหาคนเรียนยาก อย่างไรก็ตามภาษาในกลุ่มนี้แตกต่างจากภาษารัสเซียโดยสิ้นเชิงทั้งทางการเขียนและไวยากรณ์ (มีบ้างที่ยืมคำมาจากภาษารัสเซีย) ภาษาเอสโตเนียนนั้นจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟินแลนด์ของชาวฟินแลนด์<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>


=== ดนตรี ===
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|เอสโตเนียในโอลิมปิก|เอสโตเนียในพาราลิมปิก}}

==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก|สมาพันธ์ฟุตบอลเอสโตเนีย|ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย|ฟุตซอลทีมชาติเอสโตเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


==== วอลเลย์บอล ====
=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอสโตเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


=== กีฬา ===
==== มวยสากล ====
{{บทความหลัก|สมาพันธ์มวยสากลเอสโตเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


== วัฒนธรรม ==
=== เทคโนโลยี ===
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมเอสโตเนีย}}
แม้ว่าจะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของโซเวียต แต่ในระหว่างนั้นเอสโตเนียก็มีความก้าวหน้าในเรื่องของเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงไม่แปลกใจที่[[สไกป์]]ได้ก่อกำเนิดขึ้นที่นี่<ref>[http://www.basees2016.org/abstracts/Schumpeter%20-%20Chutinon.pdf Putthiwanit, C., An Analysis of Joseph Schumpeter's Life, Concept of Innovation, and Application for Estonia, British Association for Slavonic and East European Studies International Conference, Fitzwilliam College, University of Cambridge, UK, 2 – 4 April 2016]</ref>


=== สถาปัตยกรรม ===
=== วันหยุด ===
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}

=== ดนตรี ===
{{โครง-ส่วน}}

=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศเอสโตเนีย}}

=== วันหยุด ===
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของเอสโตเนีย}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 137: บรรทัด 240:
* [http://www.visitestonia.com/ Visitestonia.com]
* [http://www.visitestonia.com/ Visitestonia.com]


{{Navboxes
|list1=
{{ประเทศเอสโตเนีย}}
{{ยุโรป}}
{{ยุโรป}}
{{อียู}}
{{อียู}}
{{นาโต}}
{{นาโต}}
}}


[[หมวดหมู่:ประเทศในทวีปยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ประเทศในทวีปยุโรป]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:52, 4 มีนาคม 2561

สาธารณรัฐเอสโตเนีย

Eesti Vabariik (เอสโตเนีย)
คำขวัญไม่มี
ที่ตั้งของเอสโตเนีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ทาลลินน์
ภาษาราชการภาษาเอสโตเนีย
การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
โตมัส เฮนดริก อิลเวส
ตาวี เรยวัส
ได้รับเอกราช
• ประกาศเอกราช
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461
• ยอมรับ
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463
• โซเวียตยึดครอง
16 มิถุนายน พ.ศ. 2483
• ประกาศเอกราชใหม่
20 สิงหาคม พ.ศ. 2534
พื้นที่
• รวม
45,226 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (130)
4.56%
ประชากร
• 2549 ประมาณ
1,324,333 (148)
29.8 ต่อตารางกิโลเมตร (77.2 ต่อตารางไมล์) (144)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 41.202 พันล้าน
$ 31,473
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 25.683 พันล้าน
$ 19,618
จีนี (2557)34.6[1]
ข้อผิดพลาด: ค่าจีนีไม่ถูกต้อง
เอชดีไอ (2559)เพิ่มขึ้น 0.865
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · 30th
สกุลเงินยูโร (€) 2 (EUR ( 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ))
เขตเวลาUTC+2 (EET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+3 (EEST)
รหัสโทรศัพท์372
โดเมนบนสุด.ee

เอสโตเนีย (อังกฤษ: Estonia; เอสโตเนีย: Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (อังกฤษ: Republic of Estonia; เอสโตเนีย: Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป

เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป

ภูมิศาสตร์

ภูมิประเทศ

ภูมิอากาศ

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ยุคกลาง

อาณัติของสวีเดน

เอสโตเนียภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย

การประกาศเอกราช

สงครามโลกครั้งที่ 2

คอมมิวนิสต์โซเวียต

การประกาศเอกราช ค.ศ. 1991

การเมืองการปกครอง

บริหาร

นิติบัญญัติ

ตุลาการ

สิทธิมนุษยชน

การแบ่งเขตการปกครอง

เทศมณฑลของเอสโตเนีย

ต่างประเทศ

นโยบายต่อสหภาพยุโรป

นโยบายต่อองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO)

การเข้าร่วมองค์การในภูมิภาค

ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับประเทศไทย

ความสัมพันธ์เอสโตเนีย – ไทย
Map indicating location of เอสโตเนีย and ไทย

เอสโตเนีย

ไทย
  • การเมือง

เอสโตเนียพร้อมที่จะขยายความร่วมมือกับไทยในทุก ๆ ด้าน ทั้งในกรอบทวิภาคีและกรอบพหุภาคี ในด้านความสัมพันธ์ทางการทูต ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นโดยมีการแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างผู้นำของทั้งสองประเทศอย่างสม่ำเสมอในโอกาสสำคัญๆ อาทิเช่น การเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีของเอสโตเนีย เป็นต้น นอกจากนี้ ทั้งสองประเทศยังได้สนับสนุนการดำเนินงานในกรอบเวทีการเมืองประเทศระหว่างกัน โดยเฉพาะการให้ความสนับสนุนของเอสโตเนียต่อผู้สมัครของไทยในองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ เป็นต้น

  • การทูต

ไทยประกาศรับรองรัฐลัตเวียเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2534 พร้อมกับการประกาศรับรองรัฐเอสโตเนีย และลิทัวเนีย ต่อมาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2535 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการให้ไทยดำเนินการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับลัตเวีย และให้มีการแลกเปลี่ยนผู้แทนทางการทูต ในระดับเอกอัครราชทูตระหว่างกัน โดยให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม มีเขตอาณาครอบคลุมฟินแลนด์ ลัตเวียและเอสโตเนีย โดยนายสุจินดา ยงสุนทรเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม ได้เดินทางไปยื่นพระราชสาส์นตราตั้งเป็นเอกอัครราชทูตคนแรกประจำลัตเวีย เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 และต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2544เห็นชอบให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออลโล มีเขตอาณาครอบคลุมลัตเวียแทนสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงสตอกโฮล์ม และปัจจุบันเอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำลัตเวีย อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย สำหรับ ลัตเวียยังมิได้ตั้งสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทย แต่ได้จัดตั้งสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำประเทศไทย โดยมีนายประสงค์ จงรัตนากุล ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ลัตเวียประจำประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538

  • การค้าและเศรษฐกิจ
  • การศึกษาและวิชาการ
  • วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว

กองทัพ

เศรษฐกิจการค้า

โครงสร้าง

โครงสร้างพื้นฐาน

ทรัพยากร

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

แม้ว่าจะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของโซเวียต แต่ในระหว่างนั้นเอสโตเนียก็มีความก้าวหน้าในเรื่องของเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงไม่แปลกใจที่สไกป์ได้ก่อกำเนิดขึ้นที่นี่[2]

คมนาคม และ โทรคมนาคม

การศึกษา

ประชากรศาสตร์

ศาสนา

ภาษา

หลายคนที่มาประเทศกลุ่มบอลติก (ลัตเวีย เอสโตเนีย และลิทัวเนีย) ใหม่ ๆ และไม่มีความรู้ภาษารัสเซีย จะมีปัญหาค่อนข้างเยอะในการพิมพ์ภาษาเหล่านี้ เนื่องจากเป็นภาษาที่คนพูดน้อยและหาคนเรียนยาก อย่างไรก็ตามภาษาในกลุ่มนี้แตกต่างจากภาษารัสเซียโดยสิ้นเชิงทั้งทางการเขียนและไวยากรณ์ (มีบ้างที่ยืมคำมาจากภาษารัสเซีย) ภาษาเอสโตเนียนนั้นจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟินแลนด์ของชาวฟินแลนด์[3]

กีฬา

ฟุตบอล

วอลเลย์บอล

มวยสากล

วัฒนธรรม

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรม

ดนตรี

อาหาร

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

อ้างอิง

  1. "Estonia". World Bank.
  2. Putthiwanit, C., An Analysis of Joseph Schumpeter's Life, Concept of Innovation, and Application for Estonia, British Association for Slavonic and East European Studies International Conference, Fitzwilliam College, University of Cambridge, UK, 2 – 4 April 2016
  3. หรรษาลัตเวีย

แหล่งข้อมูลอื่น