ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟือเรอร์บุงเคอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
หลังสงคราม ทั้งอาคารทำเนียบรัฐบาลทั้งเก่าและใหม่ถูกฝ่ายโซเวียตพังราบ แม้มีความพยายามระเบิดอยู่บ้าง แต่หน่วยใต้ดินยังไม่ค่อยถูกรบกวนมากนักจน ค.ศ. 1988–1989 ระหว่างการบูรณะพื้นที่ส่วนนั้นของกรุงเบอร์ลิน หลายส่วนของหน่วยบังเกอร์เก่าซึ่งมีการขุดค้นแล้วถูกทำลายไปเสียมาก สถานที่นั้นยังไม่มีการทำเครื่องหมายจน ค.ศ. 2006 เมื่อมีการติดตั้งแผ่นทองเหลืองขนาดเล็กที่มีแผนภาพเค้าร่าง ทางเดินเชื่อมอาคารของบังเกอร์ยังเหลืออยู่บ้าง แต่ถูกปิดมิให้สาธารณชนเข้า
หลังสงคราม ทั้งอาคารทำเนียบรัฐบาลทั้งเก่าและใหม่ถูกฝ่ายโซเวียตพังราบ แม้มีความพยายามระเบิดอยู่บ้าง แต่หน่วยใต้ดินยังไม่ค่อยถูกรบกวนมากนักจน ค.ศ. 1988–1989 ระหว่างการบูรณะพื้นที่ส่วนนั้นของกรุงเบอร์ลิน หลายส่วนของหน่วยบังเกอร์เก่าซึ่งมีการขุดค้นแล้วถูกทำลายไปเสียมาก สถานที่นั้นยังไม่มีการทำเครื่องหมายจน ค.ศ. 2006 เมื่อมีการติดตั้งแผ่นทองเหลืองขนาดเล็กที่มีแผนภาพเค้าร่าง ทางเดินเชื่อมอาคารของบังเกอร์ยังเหลืออยู่บ้าง แต่ถูกปิดมิให้สาธารณชนเข้า


ในสมุดลงนามการเข้าพบฮิตเลอร์ ณ บุงเคอร์แห่งนี้ ปรากฏลายมือชื่อของพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) เอกอัครราชทูตไทยประจำไรช์ เป็นชื่อสุดท้ายที่ได้เข้าพบฮิตเลอร์อย่างเป็นทางการ เข้าพบเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 1945 ในเอกสารไม่ได้ระบุถึงวัตถุประสงค์ในการเข้าพบ
== สิ่งที่เกี่ยวข้อง ==
== สิ่งที่เกี่ยวข้อง ==
{{Commons category|Führerbunker|ฟือเรอร์บุงเคอร์}}
{{Commons category|Führerbunker|ฟือเรอร์บุงเคอร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:00, 28 กุมภาพันธ์ 2561

ภาพจำลองแผนผังของบุงเคอร์ฟือเรอร์ใต้ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์

ฟือเรอร์บุงเคอร์ (เยอรมัน: Führerbunker "บังเกอร์ท่านผู้นำ") เป็นที่หลบภัยการตีทางอากาศ ตั้งอยู่ในสวนของทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี แบ่งการก่อสร้างออกเป็นสองเฟส คือในปี 1936 และ 1944 ฮิตเลอร์เข้าพำนักในฟือเรอร์บุงเคอร์เมื่อวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1945 ตั้งแต่นั้นมา ที่นี่ก็กลายเป็นศูนย์อำนาจของประเทศ ต่อมาในช่วงยุทธการที่เบอร์ลิน ฮิตเลอร์และเอฟา เบราน์ ก็ฆ่าตัวตายในบังเกอร์แห่งนี้ในวันที่ 30 เมษายน 1945 หนึ่งสัปดาห์ก่อนที่เยอรมนีจะลงนามยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร

หลังสงคราม ทั้งอาคารทำเนียบรัฐบาลทั้งเก่าและใหม่ถูกฝ่ายโซเวียตพังราบ แม้มีความพยายามระเบิดอยู่บ้าง แต่หน่วยใต้ดินยังไม่ค่อยถูกรบกวนมากนักจน ค.ศ. 1988–1989 ระหว่างการบูรณะพื้นที่ส่วนนั้นของกรุงเบอร์ลิน หลายส่วนของหน่วยบังเกอร์เก่าซึ่งมีการขุดค้นแล้วถูกทำลายไปเสียมาก สถานที่นั้นยังไม่มีการทำเครื่องหมายจน ค.ศ. 2006 เมื่อมีการติดตั้งแผ่นทองเหลืองขนาดเล็กที่มีแผนภาพเค้าร่าง ทางเดินเชื่อมอาคารของบังเกอร์ยังเหลืออยู่บ้าง แต่ถูกปิดมิให้สาธารณชนเข้า

ในสมุดลงนามการเข้าพบฮิตเลอร์ ณ บุงเคอร์แห่งนี้ ปรากฏลายมือชื่อของพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) เอกอัครราชทูตไทยประจำไรช์ เป็นชื่อสุดท้ายที่ได้เข้าพบฮิตเลอร์อย่างเป็นทางการ เข้าพบเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 1945 ในเอกสารไม่ได้ระบุถึงวัตถุประสงค์ในการเข้าพบ

สิ่งที่เกี่ยวข้อง