ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การโคลน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Longitudinal fission of Anthopleura elegantissima in California tidepools.jpg|[[ดอกไม้ทะเล]]ชนิด ''[[Anthopleura elegantissima]]'' กำลังโคลน|thumb]]
[[ไฟล์:Longitudinal fission of Anthopleura elegantissima in California tidepools.jpg|[[ดอกไม้ทะเล]]ชนิด ''[[Anthopleura elegantissima]]'' กำลังโคลน|thumb]]
'''การโคลน''' ({{lang-en|cloning}}) ในทาง[[ชีววิทยา]] หมายถึง กระบวนการผลิตประชากรที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันซึ่งเกิดขึ้นในธรรมชาติเมื่อสิ่งมีชีวิต เช่น [[แบคทีเรีย]] [[แมลง]]หรือ[[พืช]]สืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ การโคลนในทางเทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการสร้างสำเนาส่วนดีเอ็นเอ (การโคลนโมเลกุล), เซลล์ (การโคลนเซลล์) หรือสิ่งมีชีวิต คำว่า "การโคลน" ยังหมายถึงการผลิตสำเนาของผลิตภัณฑ์ เช่น สื่อดิจิตอลหรือซอฟต์แวร์ ขึ้นเป็นจำนวนมาก
{| class="wikitable"
| ในทางชีววิทยา การโคลน หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ ซึ่งมีลักษณะพันธุกรรมเหมือนสิ่งมีชีวิตต้นแบบทุกประการ วิธีการโคลนวิธีหนึ่งคือนำนิวเคลียสของเซลล์ร่างกายใส่เข้าไปในเซลล์ไข่    ที่ถูกดูดเอานิวเคลียสออกไปก่อนแล้ว ด้วยกระบวนการนี้เซลล์ไข่ที่มีนิวเคลียสของเซลล์ร่างกายจะพัฒนาเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่โดยใช้ข้อมูลของสารพันธุกรรมจากนิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย สิ่งมีชีวิต     ตัวใหม่จึงมีลักษณะพันธุกรรมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ


คำว่า "โคลน" มาจากคำ[[ภาษากรีกโบราณ]]ว่า κλών (klōn, “กิ่ง”) โดยหมายถึง ขั้นตอนซึ่งพืชต้นใหม่สามารถถูกสร้างขึ้นจากกิ่งได้ โดยสิ่งมีชีวิที่ได้รับการโคลนตัวแรกของโลกก็คือ "แกะ"
        ซึ่งการโคลนนิ่งได้ทำกับพืชมานานหลายสิบปี ที่เรียกว่า การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในปี พ.ศ. 2539   ได้มีการโคลนนิ่งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสำเร็จครั้งแรก โดยทำกับแพะ และแกะ แกะตัวแรกที่ได้จากการโคลนนิ่งมีชื่อว่า '''” ดอลลี่ “'''


แกะดอลลี่ (ตัวที่อยู่ด้านหน้า) กับแกะต้นแบบ

'''วิธีการโคลนนิ่งแกะดอลลี่'''

'''ประโยชน์ หรือ ข้อดี ของการโคลนนิ่ง (Advantages of Cloning)'''
* ช่วยในการเพิ่มจำนวนพันธุ์สัตว์และพันธุ์พืชหายาก หรือเพิ่มจำนวนพันธุ์สัตว์และพันธุ์พืชที่ใกล้ที่จะสูญพันธุ์ ได้เร็วกว่าการผสมพันธุ์กันแบบปกติตามธรรมชาติ
* ช่วยในการเพิ่มจำนวนสัตว์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่ดี เช่น หมูที่ให้เนื้อในปริมาณมากหรือโคที่ให้น้ำนมในปริมาณมากที่มีความต้านทานโรคสูง เป็นต้น
* ช่วยในการเพิ่มจำนวนสัตว์ที่ได้มีการปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมทั้งสัตว์ที่ผสมพันธุ์กันด้วยวิธีทางธรรมชาติหรือผสมเทียมหรือสัตว์ที่เป็นจีเอ็มโอโดยสัตว์เหล่านี้อาจปรับปรุงพันธุ์มาเพื่อผลิตยารักษาโรคได้
* ช่วยในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องใช้สัตว์ทดลองที่มีพันธุกรรมและลักษณะที่เหมือนกันเป็นจำนวนมาก
* เพื่อช่วยในการผลิตอวัยวะของสัตว์ที่มีลักษณะเหมือนกันเพื่อที่จะใช้ในการย้ายฝาก
* ช่วยในการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะของมนุษย์ ซึ่งอาจได้อวัยวะที่เข้ากันได้โดยภูมิคุ้มกันตัวเองไม่ต่อต้านอวัยวะใหม่ที่รับเข้าไปซึ่งช่วยทำให้ลดความเสี่ยงในการใช้ยากดภูมิคุ้มกัน
* ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจกลไกการทำงานของยีนมากขึ้น อย่างเช่นในกรณี ผู้ป่วยที่สมองตายจากการเป็นอัมพาตโดยที่อาจสามารถทำการกระตุ้นให้เซลล์สมองเกิดการแบ่งตัวทดแทนเซลล์เดิมที่ตายไปได้ หรือในกรณีของผู้ป่วยที่ไตวาย อาจสามารถทำการกระตุ้นการทำงานของไตและทำการกระตุ้นให้เซลล์ไตที่เหลืออยู่เกิดการแบ่งตัวแล้วทำหน้าที่แทนกันได้

           จะเห็นได้ว่าการโคลนนิ่งนั้นมีข้อดีหรือประโยชน์ทั้ง ด้านทางการแพทย์ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การรักษาพันธุ์ ด้านการเกษตรกรรม แต่การโคลนนิ่งยังมีปัญหาทางด้านจริยธรรมจากการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะของมนุษย์เพราะต้องโคลนนิ่งคนที่เหมือนกันแล้วนำอวัยวะของโคลนมาใช้กับคนที่เป็นเจ้าของเดิมทำให้คนที่ถูกโคลนออกมามีอวัยวะไม่ครบ แต่ถึงอย่างนั้นยังมีวิธีการอื่นที่ไม่ใช่การโคลนนิ่งในการสร้างอวัยวะอยู่ เช่น สเต็มเซลล์เป็นต้น นอกจากนี้การโคลนนิ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับจากทางศาสนาอย่างนิกายโรมันคาทอลิก และยังไม่เป็นที่ยอมรับของนักสังคมศาสตร์ในแง่มุมของการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลอาจทำได้ยากขึ้นหากยอมให้มีการโคลนนิ่งเกิดขึ้น ดังนั้นในปัจจุบันนี้การโคลนนิ่งมนุษย์จึงยังไม่อาจจะทำได้ และทำให้ข้อมูลทางรายงานการวิจัยเกี่ยวกับการโคลนนิ่ง มนุษย์ยังมีอยู่น้อยมาก

'''ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของการโคลนนิ่ง (Disadvantages of Cloning)'''
* ทำให้เกิดความไม่เป็นเอกลักษณ์ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นตัวต้นแบบ
* ทำให้เกิดการขาดความหลากหลายทางชีวภาพ
* อาจทำให้การพัฒนาสายพันธุ์ที่ดีมีน้อยลงเพราะมีลักษณะเหมือนกันไปหมดไม่เปลี่ยนแปลง
* อาจทำให้มีวิวัฒนาการลดลง และอาจลดความอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ได้(เพราะมีความเหมือนกันเป็นจำนวนมาก)
* มนุษย์ยังมีปัญหาด้านจริยธรรม เช่น อย่างในกรณีการปลูกถ่ายทดแทนอวัยวะของมนุษย์เพราะต้องทำคนที่เหมือนกันออกมาแล้วนำอวัยวะของโคลนนั้นมาปลูกถ่ายแทนที่อวัยวะคนที่เป็นต้นแบบ ซึ่งทำให้คนที่ถูกโคลนออกมามีอวัยวะไม่ครบ
* มีปัญหาในทางด้านกฎหมายในการพิสูจน์จำแนกผู้กระทำผิดในคดีต่างๆ โดยใช้การตรวจดีเอ็นเอเพราะโคลนมีดีเอ็นเอหมือนกับคนต้นแบบทำให้ยากที่จะจำแนกได้ว่าคนที่เป็นต้นแบบหรือโคลนเป็นผู้กระทำผิด หรือแม้แต่ลักษณะรูปร่างหน้าตาที่เหมือนกันอาจทำให้พยานระบุผิดคน เป็นต้น
* ที่หากเกิดคัดสายพันธุ์ที่เป็นต้นแบบในการโคลนนิ่งผิดหรือมีลักษณะที่ไม่ดีตามคาดอาจมีผลเสียอื่นตามมาทีหลังได้
|}

= การโคลนนิ่ง (CLONING) =

'''การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ''' การคัดลอก หรือการทำซ้ำ ให้มีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ

หากกล่าวเรื่อง '''การโคลนนิ่ง (Cloning)''' ในแง่ของสิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวพันถึงเทคโนโลยีชีวภาพแล้ว

'''การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ''' กระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศชนิดหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ

โดยคำว่า'''โคลน (Clone)''' นั้นมาจากภาษากรีกจากคำว่า “Klone” ซึ่งแปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน โดยใช้อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual) ของในพืชและสัตว์

และโดยที่คำว่า'''โคลน''' จะถูกใช้เรียกสิ่งที่ถูกโคลนออกมาจากสิ่งมีชีวิตต้นแบบ

ตัวอย่างของลักษณะสิ่งมีชีวิตที่ได้จาก'''การโคลนนิ่ง (Cloning)''' เช่น มีเพศเหมือนกัน มีหมู่เลือดเหมือนกัน เป็นต้น

หากกล่าวถึงเรื่อง '''การโคลนนิ่ง (Cloning)''' สัตว์ซึ่งปกติแล้วสืบพันธุ์โดยอาศัยเพศแล้ว

'''การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ''' การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาโดยไม่ใช้เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์เพศผู้หรืออสุจิของสัตว์เพศผู้ แต่ใช้นิวเคลียสจากเซลล์เต็มวัยของเซลล์ร่างกายของสัตว์เพศอะไรก็ได้ใส่ลงไปที่เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์เพศเมียหรือเซลล์ไข่โดยนำสารพันธุกรรม หรือ DNAที่มีอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมียหรือเซลล์ไข่ออกก่อน แล้วนำเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมียหรือเซลล์ไข่ใส่ไปในตัวเพศเมียเพื่อให้คลอดออกมา เมื่อคลอดออกมาทำให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มี รูปร่าง หน้าตา ลักษณะภายนอก เหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมเกือบทุกประการ และมีพันธุกรรมเหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ ถ้าเจ้าของเซลล์เป็นเพศเมียก็จะได้สัตว์ให้เป็นเพศเมีย ถ้าเจ้าของสัตว์เป็นเพศผู้จะได้สัตว์ใหม่เป็นเพศผู้ เหมือนกับเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ
[[หมวดหมู่:การโคลน| ]]
[[หมวดหมู่:การโคลน| ]]
[[หมวดหมู่:อณูชีววิทยา]]
[[หมวดหมู่:อณูชีววิทยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:18, 22 กุมภาพันธ์ 2561

ดอกไม้ทะเลชนิด Anthopleura elegantissima กำลังโคลน

การโคลน (อังกฤษ: cloning) ในทางชีววิทยา หมายถึง กระบวนการผลิตประชากรที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันซึ่งเกิดขึ้นในธรรมชาติเมื่อสิ่งมีชีวิต เช่น แบคทีเรีย แมลงหรือพืชสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ การโคลนในทางเทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการสร้างสำเนาส่วนดีเอ็นเอ (การโคลนโมเลกุล), เซลล์ (การโคลนเซลล์) หรือสิ่งมีชีวิต คำว่า "การโคลน" ยังหมายถึงการผลิตสำเนาของผลิตภัณฑ์ เช่น สื่อดิจิตอลหรือซอฟต์แวร์ ขึ้นเป็นจำนวนมาก

คำว่า "โคลน" มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า κλών (klōn, “กิ่ง”) โดยหมายถึง ขั้นตอนซึ่งพืชต้นใหม่สามารถถูกสร้างขึ้นจากกิ่งได้ โดยสิ่งมีชีวิที่ได้รับการโคลนตัวแรกของโลกก็คือ "แกะ"