ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฉ่สิ่งเอี้ย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
Torpido ย้ายหน้า ไฉ่ซิ้งเอี้ย ไปยัง ไฉ่สิ่งเอี้ย: ให้ออกเสียงคล้ายมากที่สุด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| colspan = 2 align=center|[[ไฟล์:Fortune.JPG|250px]]
| colspan = 2 align=center|[[ไฟล์:Fortune.JPG|250px]]
|-
|-
!style="background:#ccf; border-bottom:2px solid" colspan=2|[[Chinese name|Names]]
!style="background:#ccf; border-bottom:2px solid" colspan=2|[[Chinese name|ชื่อ]]
|-
|-
| align = right|[[อักษรจีนตัวย่อ]]:||财神,财神爷
| align = right|[[อักษรจีนตัวย่อ]]:||财神,财神爷
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| align = right|[[พินอิน]]:||Cái-shén,Cái-shén-yé
| align = right|[[พินอิน]]:||Cái-shén,Cái-shén-yé
|-
|-
| align = right|[[สำเนียงแต้จิ๋ว]]:||ไฉ่ซิ้งเอี้ย
| align = right|[[สำเนียงแต้จิ๋ว]]:||ไฉ่สิ่งเอี้ย
|-
|-
| align = right|[[ภาษาหมิ่นหนาน|สำเนียงฮกเกี้ยน]]:||จ๋ายสิน,จ๋ายสินเอี๊ยะ
| align = right|[[ภาษาหมิ่นหนาน|สำเนียงฮกเกี้ยน]]:||จ๋ายสิน,จ๋ายสินเอี๊ยะ
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
*ปิดก้วย (筆桿)
*ปิดก้วย (筆桿)
|}
|}
'''ไฉ่ซิ้งเอี้ย''' หรือ '''จ่ายสินเอี้ย''' ({{lang-zh|财神}}; [[พินอิน]]: Cái-shén; {{lang-en|Cai Shen, God of wealth, God of fortune}}) เป็น[[เทพเจ้าของจีน]]ที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว
'''ไฉ่สิ่งเอี้ย''' หรือ '''จ่ายสินเอี้ย''' ({{lang-zh|财神}}; [[พินอิน]]: Cái-shén; {{lang-en|Cai Shen, God of wealth, God of fortune}}) เป็น[[เทพเจ้าของจีน]]ที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ ([[ตรุษจีน]]) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว


โดยคำว่า "ไฉ่ซิ้ง" มีความหมายว่า "ทรัพย์สิน" "เอี้ย" หมายถึง "[[เทพเจ้า]]" โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ [[ฟ่านหลี]] และ[[ปี่ กั้น]] ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และ[[กวนอู]] ถือเป็นไฉซิ้งเอี้ยฝ่ายบู๊<ref>{{cite web|author=กิเลน ประลองเชิง|date=2018-02-17|accessdate=2018-02-20|work=[[ไทยรัฐ]]|url=https://www.thairath.co.th/content/1205723|title=ไฉ่ซิ้ง เทพแห่งทรัพย์สิน }}</ref>
โดยคำว่า "ไฉ่สิ่ง" หรือ "ไฉซิ้ง" มีความหมายว่า "ทรัพย์สิน" "เอี้ย" หมายถึง "[[เทพเจ้า]]" โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ [[ฟ่านหลี]] และ[[ปี่ กั้น]] ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และ[[กวนอู]] ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู๊<ref>{{cite web|author=กิเลน ประลองเชิง|date=2018-02-17|accessdate=2018-02-20|work=[[ไทยรัฐ]]|url=https://www.thairath.co.th/content/1205723|title=ไฉ่ซิ้ง เทพแห่งทรัพย์สิน }}</ref>


การบูชาไฉ่ซิ้งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น
การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น


ไฉ่ซิ้งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล<ref>[http://global.britannica.com/EBchecked/topic/607569/Caishen ไฉซิ้งเอี้ย จาก[[สารานุกรมบริตานิกา]] {{en}}]</ref>
ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล<ref>[http://global.britannica.com/EBchecked/topic/607569/Caishen ไฉซิ้งเอี้ย จาก[[สารานุกรมบริตานิกา]] {{en}}]</ref>


เชื่อว่าไฉ่ซิ้งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่ซิ้งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่ซิ้งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้<ref name=ไฉ่/> ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, [[อาหารเจ]], บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/life/325266|title= ***เคล็ดไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิ่งเอี้ย*** |work=ไทยรัฐ}}</ref> และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่ซิ้งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน<ref name=ไฉ่>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=Q5Bjvm0SagA|work=[[ฟ้าวันใหม่]]|date=2018-02-15|accessdate=2018-02-20|title=คิดเช่น Gen D 15 02 61}}</ref>
เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้<ref name=ไฉ่/> ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, [[อาหารเจ]], บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/life/325266|title= ***เคล็ดไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิ่งเอี้ย*** |work=ไทยรัฐ}}</ref> และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน<ref name=ไฉ่>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=Q5Bjvm0SagA|work=[[ฟ้าวันใหม่]]|date=2018-02-15|accessdate=2018-02-20|title=คิดเช่น Gen D 15 02 61}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:29, 20 กุมภาพันธ์ 2561

ชื่อ
อักษรจีนตัวย่อ: 财神,财神爷
อักษรจีนตัวเต็ม: 財神,財神爺
พินอิน: Cái-shén,Cái-shén-yé
สำเนียงแต้จิ๋ว: ไฉ่สิ่งเอี้ย
สำเนียงฮกเกี้ยน: จ๋ายสิน,จ๋ายสินเอี๊ยะ
ภาษาญี่ปุ่น | : 富の神
ภาษาเกาหลี | อักษรฮันกุล: 생애
เกาหลี: saeng-ae
ภาษาเวียดนาม: Thần Tài
ชื่ออื่นๆ :
  • เจ้าก๊องเบี้ยง (趙公明)
  • ปิดก้วย (筆桿)

ไฉ่สิ่งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (จีน: 财神; พินอิน: Cái-shén; อังกฤษ: Cai Shen, God of wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว

โดยคำว่า "ไฉ่สิ่ง" หรือ "ไฉซิ้ง" มีความหมายว่า "ทรัพย์สิน" "เอี้ย" หมายถึง "เทพเจ้า" โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ ฟ่านหลี และปี่ กั้น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และกวนอู ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู๊[1]

การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น

ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล[2]

เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้[3] ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, อาหารเจ, บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น[4] และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน[3]

อ้างอิง

  1. กิเลน ประลองเชิง (2018-02-17). "ไฉ่ซิ้ง เทพแห่งทรัพย์สิน". ไทยรัฐ. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  2. ไฉซิ้งเอี้ย จากสารานุกรมบริตานิกา (อังกฤษ)
  3. 3.0 3.1 "คิดเช่น Gen D 15 02 61". ฟ้าวันใหม่. 2018-02-15. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  4. "***เคล็ดไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิ่งเอี้ย***". ไทยรัฐ.

แหล่งข้อมูลอื่น