ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


== แถบแก้ไข ==
== แถบแก้ไข ==

<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การแก้ไข]]'''</div>{{-}}


[[ไฟล์:Edit-this-page-large-th.png|300px|thumb|กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ]]
[[ไฟล์:Edit-this-page-large-th.png|300px|thumb|กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ]]
บรรทัด 18: บรรทัด 16:


ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "[[WYSIWYG|คุณได้อย่างที่คุณเห็น]]" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ
ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "[[WYSIWYG|คุณได้อย่างที่คุณเห็น]]" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ
{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

=== ความย่อการแก้ไข ===
ขั้นแรก เมื่อคุณแก้ไขหน้าใด ๆ การกรอกคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องความย่อการแก้ไขถือเป็น[[วิกิพีเดีย:มารยาท|มารยาท]]ที่ดี กล่องนี้อยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ทั้งนี้ คุณจะย่อคำอธิบายของคุณให้สั้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณแก้ไขการสะกดอาจพิมพ์สั้น ๆ ว่า "แก้สะกด" ก็ได้ หรือ หากคุณเปลี่ยนแปลงหน้าแบบเล็กน้อย เช่น แก้ไขการสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ ให้เลือกกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (จะมีต่อเมื่อคุณล็อกอิน)


<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:ความย่อการแก้ไข]]'''</div>{{-}}
== คำอธิบายอย่างย่อ ==
[[ไฟล์:Edit summary-th.png|center|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]]
{{clear}}
{{clear}}
การฝึกแก้ไขครั้งแรกของคุณ (ด้านบน) ละสองขั้นตอนที่คุณควรทำหากคุณกำลังแก้ไขบทความหรือหน้าอื่นที่สาธารณะเข้าชมได้ ฉะนั้น คลิกแถบ "แก้ไข" อีกครั้ง พิมพ์ข้อความ จากนั้นทำเพิ่มอีกสองขั้นตอน


=== ดูตัวอย่าง ===
ขั้นแรก ทุกครั้งที่คุณแก้ไขหน้า จะเป็น[[วิกิพีเดีย:มารยาทในวิกิพีเดีย|มารยาทอันดี]]ที่จะเพิ่มคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่อง'''[[วิธีใช้:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายอย่างย่อ]]''' ซึ่งคุณจะพบอยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ไม่เป็นไรที่คำอธิบายของคุณอาจค่อนข้างสั้น ตัวอย่างเช่น หากคุณกำลังแก้ไขเรื่องตัวสะกด คุณอาจพิมพ์เพียงว่า "แก้สะกดผิด" เช่นกัน หากการเปลี่ยนแปลงของคุณเป็นการแก้ไขเล็กน้อย เช่น แก้ตัวสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ให้ถูก จะเป็นประโยชน์หากคุณเช็กกล่อง "เป็น[[วิธีใช้:การแก้ไขเล็กน้อย|การแก้ไขเล็กน้อย]]" (กล่องนี้จะมีเฉพาะเมื่อคุณล็อกอิน) สำหรับการแก้ไขในหน้ากระดาษทด คุณอาจลองเขียนคำอธิบายอย่างย่อว่า "ทดสอบ"
ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' เสมอ หลังคุณเปลี่ยนแปลงในกล่องแก้ไขแล้ว กดปุ่ม {{button|{{Mediawiki:Showpreview}}}} ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณก่อนบันทึกจริง เราทุกคนล้วนเคยพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนผู้อื่นเห็น การใช้ '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการเปลี่ยนการจัดรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะ[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติหน้า]]


<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:แสดงตัวอย่าง]]'''</div>{{-}}
== ดูตัวอย่าง ==
{{clear}}
ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' เสมอ หลังคุณเข้าไปแก้ไขในกล่องแก้ไขในหน้ากระดาษทดแล้ว กดปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' แทนปุ่ม '''บันทึก''' ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณ ก่อนที่คุณจะบันทึกจริง เราทุกคนล้วนทำผิดพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนที่คนอื่นจะมาเห็น การใช้ '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการแก้ไขรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะ[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติหน้า]] แต่อย่าลืมบันทึกการแก้ไขของคุณหลังดูตัวอย่างด้วย!


== บันทึกการแก้ไข ==
== บันทึกการแก้ไข ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:07, 14 กุมภาพันธ์ 2561

อารัมภบท วิธีการแก้ไข การจัดรูปแบบ ลิงก์ การอ้างอิง
แหล่งที่มา
 หน้าคุย จำไว้ว่า ลงทะเบียน ท้ายสุด  

การแก้ไขหน้าวิกิพีเดียส่วนใหญ่ไม่ยาก วิกิพีเดียใช้วิธีการแก้ไขสองวิธี การแก้ไขคลาสสิกผ่านการจัดรูปแบบวิกิ (ข้อความวิกิ) และผ่านวิชวลเอดิเตอร์ (VisualEditor) มาใหม่

หากต้องการฝึกแก้ไข ให้ไปหน้าทดลองเขียน แล้วคลิกแถบ แก้ไข จะมีการแสดงหน้าต่างแก้ไขที่มีข้อความสำหรับหน้านั้น ลองพิมพ์ดู หรือเปลี่ยนแปลงข้อความที่คุณจะได้พบในหน้านั้น แล้วคลิก เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง เและดูว่าผลลัพธ์ออกมาอย่างไร

แถบแก้ไข

กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ

เลือกการจัดรูปแบบวิกิโดยคลิกแถบ แก้ไข ที่อยู่บนสุดของหน้าวิกิพีเดีย (หรือลิงก์แก้ไขส่วน) จะพาคุณเข้าหน้าใหม่ที่มีเนื้อหาแก้ไขได้ของหน้าปัจจุบัน มีการใช้การจัดรูปแบบวิกิอย่างกว้างขวางในวิกิพีเดีย เช่น ไฮเปอร์ลิงก์ ตารางและสดมภ์ เชิงอรรถ การอ้างอิงในบรรทัด อักขระพิเศษ เป็นต้น

ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "คุณได้อย่างที่คุณเห็น" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การแก้ไข

ความย่อการแก้ไข

ขั้นแรก เมื่อคุณแก้ไขหน้าใด ๆ การกรอกคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องความย่อการแก้ไขถือเป็นมารยาทที่ดี กล่องนี้อยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ทั้งนี้ คุณจะย่อคำอธิบายของคุณให้สั้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณแก้ไขการสะกดอาจพิมพ์สั้น ๆ ว่า "แก้สะกด" ก็ได้ หรือ หากคุณเปลี่ยนแปลงหน้าแบบเล็กน้อย เช่น แก้ไขการสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ ให้เลือกกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (จะมีต่อเมื่อคุณล็อกอิน)

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:ความย่อการแก้ไข

ดูตัวอย่าง

ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม แสดงตัวอย่าง เสมอ หลังคุณเปลี่ยนแปลงในกล่องแก้ไขแล้ว กดปุ่ม แสดงตัวอย่าง ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณก่อนบันทึกจริง เราทุกคนล้วนเคยพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนผู้อื่นเห็น การใช้ แสดงตัวอย่าง ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการเปลี่ยนการจัดรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะประวัติหน้า

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:แสดงตัวอย่าง

บันทึกการแก้ไข

เขียนคำอธิบายอย่างย่อแล้ว ดูตัวอย่างหน้าแล้ว เช่นนั้นคุณก็พร้อมสำหรับขั้นสุดท้าย คลิกปุ่ม บันทึก

ทดลองเขียนได้ที่ กระดาษทด