ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kpbayernmunich (คุย | ส่วนร่วม)
Kpbayernmunich ย้ายหน้า สมเด็จพระราชินีนาถโจแอนนาแห่งคาสตีล ไปยัง [[สมเด็จพระราชินีนาถฮวนน่าแห่ง...
Kpbayernmunich (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
ฮวนน่า{{ปรับภาษา}}
{{ปรับรูปแบบ}}
{{ปรับรูปแบบ}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''สมเด็จพระราชินีโจแอนนาแห่งคาสตีล''' หรืออีกพระนามหนึ่งคือ '''สมเด็จพระราชินีฮวนน่า''' (ฮวนน่าผู้บ้าคลั่ง)([[ภาษาสเปน|สเปน]]:Juana I de Castilla) (ประสูติ: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2022 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งคาสตีล: วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047 - 25 กันยายน พ.ศ. 2049 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอารากอน: วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2059 - 12 เมษายน พ.ศ. 2098) เป็นพระราชธิดาใน [[พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน|สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานที่ 2 แห่งคาสตีล]] และ [[สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล]] เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับ[[พระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีล|เจ้าชายฟิลลิปแห่งออสเตรีย]] พระราชโอรสใน [[สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] และ พระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น ๆ
'''สมเด็จพระราชินีฮวนน่าแห่งคาสตีล''' หรืออีกพระนามหนึ่งคือ '''สมเด็จพระราชินีฮวนน่า''' (ฮวนน่าผู้บ้าคลั่ง)([[ภาษาสเปน|สเปน]]:Juana I de Castilla) (ประสูติ: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2022 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งคาสตีล: วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047 - 25 กันยายน พ.ศ. 2049 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอารากอน: วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2059 - 12 เมษายน พ.ศ. 2098) เป็นพระราชธิดาใน [[พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน|สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานที่ 2 แห่งคาสตีล]] และ [[สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล]] เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับ[[พระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีล|เจ้าชายฟิลลิปแห่งออสเตรีย]] พระราชโอรสใน [[สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] และ พระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น ๆ


== ต้นเหตุและเรื่องราวแห่งความวิปลาส ==
== ต้นเหตุและเรื่องราวแห่งความวิปลาส ==
[[ไฟล์:Juan de Flandes 003.jpg|150px|thumb|left|พระนางโจแอนนาขณะทรงพระเยาว์]]
[[ไฟล์:Juan de Flandes 003.jpg|150px|thumb|left|พระนางฮวนน่าขณะทรงพระเยาว์]]
[[ไฟล์:Juan de Flandes 004.jpg|150px|thumb|left|พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล พระสวามี]]
[[ไฟล์:Juan de Flandes 004.jpg|150px|thumb|left|พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล พระสวามี]]
หลังจากการอภิเษกสมรส เจ้าชายฟิลิปพระสวามีของพระนางมีพระนิสัยเจ้าชู้มาก ไม่ค่อยสนใจพระนาง มักทำองค์ให้เจ้าหญิงฮวนน่าทรงหึงพระองค์และทะเลาะกันบ่อยครั้งด้วยความรักพระสวามีอย่างมากจึงคอยติดตามตลอดเวลาไม่ว่าพระสวามีจะเสด็จที่ใด ต่อมาเมื่อเจ้าหญิงอิซาเบลล่า
หลังจากการอภิเษกสมรส เจ้าชายฟิลิปพระสวามีของพระนางมีพระนิสัยเจ้าชู้มาก ไม่ค่อยสนใจพระนาง มักทำองค์ให้เจ้าหญิงฮวนน่าทรงหึงพระองค์และทะเลาะกันบ่อยครั้งด้วยความรักพระสวามีอย่างมากจึงคอยติดตามตลอดเวลาไม่ว่าพระสวามีจะเสด็จที่ใด ต่อมาเมื่อเจ้าหญิงอิซาเบลล่า
และเจ้าชายจอนห์พระเชษฐภคินีและพระเชษฐาที่ทรงสนิทสนมสิ้นพระชนม์ลงในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทำให้ทรงเสียพระทัยเป็นอย่างมาก ทรงมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปเป็นทรงเก็บพระองค์มากขึ้น ในปีพ.ศ. 2047 [[สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล]] สิ้นพระชนม์ลง เจ้าหญิงฮวนน่าจึงทรงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระมารดาเป็นสมเด็จพระราชินีโจแอนนาแห่งคาสตีล ในขณะที่พระบิดา พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 อารากอนยังมีพระชนม์ชีพอยู่
และเจ้าชายจอนห์พระเชษฐภคินีและพระเชษฐาที่ทรงสนิทสนมสิ้นพระชนม์ลงในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทำให้ทรงเสียพระทัยเป็นอย่างมาก ทรงมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปเป็นทรงเก็บพระองค์มากขึ้น ในปีพ.ศ. 2047 [[สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล]] สิ้นพระชนม์ลง เจ้าหญิงฮวนน่าจึงทรงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระมารดาเป็นสมเด็จพระราชินีฮวนน่าแห่งคาสตีล ในขณะที่พระบิดา พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 อารากอนยังมีพระชนม์ชีพอยู่


=== การสวรรคตของพระเจ้าเฟลีเป ===
=== การสวรรคตของพระเจ้าเฟลีเป ===
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
== บั้นปลายพระชนม์ ==
== บั้นปลายพระชนม์ ==
=== ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน และการสวรรคต ===
=== ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน และการสวรรคต ===
สมเด็จพระราชินีโจแอนนาพอโอรสขึ้นครองราชย์พระนางเป็นสำเร็จรัชกาล(ปกครองร่วมกับโอรส[[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ชาลส์]]ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2050 พระนางเส็ดจสวรรคตในปี พ.ศ. 2093 พระศพอยู่ที่ [[คาปิลล่า ลิลร์]] [[กรานดา]] [[สเปน]]พระนางในช่วงชีวิตแรกๆกับ[[พระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีล]]ดูไม่สวยงามเลย
สมเด็จพระราชินีฮวนน่าพอโอรสขึ้นครองราชย์พระนางเป็นสำเร็จรัชกาล(ปกครองร่วมกับโอรส[[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ชาลส์]]ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2050 พระนางเส็ดจสวรรคตในปี พ.ศ. 2093 พระศพอยู่ที่ [[คาปิลล่า ลิลร์]] [[กรานดา]] [[สเปน]]พระนางในช่วงชีวิตแรกๆกับ[[พระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีล]]ดูไม่สวยงามเลย


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 97: บรรทัด 97:


{{กษัตริย์สเปนตั้งแต่ ค.ศ.1479}}
{{กษัตริย์สเปนตั้งแต่ ค.ศ.1479}}
{{เรียงลำดับ|โจแอนนาแห่งคาสตีล}}
{{เรียงลำดับ|ฮวนน่าแห่งคาสตีล}}
{{Birth|1479}}
{{Birth|1479}}
{{Death|1555}}
{{Death|1555}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:53, 5 กุมภาพันธ์ 2561

ฮวนน่า

สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา
รัชกาลก่อนหน้าพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล
รัชกาลถัดไปพระเจ้าชาลส์ที่ 1
พระราชสวามีพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีล
พระราชบุตร6 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์ตรัสทามารา
พระราชบิดาพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2
พระราชมารดาสมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล

สมเด็จพระราชินีฮวนน่าแห่งคาสตีล หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระราชินีฮวนน่า (ฮวนน่าผู้บ้าคลั่ง)(สเปน:Juana I de Castilla) (ประสูติ: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2022 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งคาสตีล: วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047 - 25 กันยายน พ.ศ. 2049 ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอารากอน: วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2059 - 12 เมษายน พ.ศ. 2098) เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานที่ 2 แห่งคาสตีล และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลลิปแห่งออสเตรีย พระราชโอรสใน สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ พระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น ๆ

ต้นเหตุและเรื่องราวแห่งความวิปลาส

พระนางฮวนน่าขณะทรงพระเยาว์
พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล พระสวามี

หลังจากการอภิเษกสมรส เจ้าชายฟิลิปพระสวามีของพระนางมีพระนิสัยเจ้าชู้มาก ไม่ค่อยสนใจพระนาง มักทำองค์ให้เจ้าหญิงฮวนน่าทรงหึงพระองค์และทะเลาะกันบ่อยครั้งด้วยความรักพระสวามีอย่างมากจึงคอยติดตามตลอดเวลาไม่ว่าพระสวามีจะเสด็จที่ใด ต่อมาเมื่อเจ้าหญิงอิซาเบลล่า และเจ้าชายจอนห์พระเชษฐภคินีและพระเชษฐาที่ทรงสนิทสนมสิ้นพระชนม์ลงในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทำให้ทรงเสียพระทัยเป็นอย่างมาก ทรงมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปเป็นทรงเก็บพระองค์มากขึ้น ในปีพ.ศ. 2047 สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล สิ้นพระชนม์ลง เจ้าหญิงฮวนน่าจึงทรงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระมารดาเป็นสมเด็จพระราชินีฮวนน่าแห่งคาสตีล ในขณะที่พระบิดา พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 อารากอนยังมีพระชนม์ชีพอยู่

การสวรรคตของพระเจ้าเฟลีเป

ภายหลังพระเจ้าฟิลิปที่1แห่งคาสตีล(ฟิลลิปรูปหล่อ)ทรงสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันยังความโศกเศร้าพระทัยแก่พระนางฮวนน่าเป็นล้นพ้น(มีการสันนิษฐานว่าอาจทรงต้องยาพิษ โดยพระเจ้าเฟอร์ดินานที่ 2 มีส่วนรู้เห็นด้วย)ทรงกันแสงและกรีดร้องตลอดเวลามิเป็นทรงงานราชการบริหารบ้านเมืองใดๆอีก ต่อมาจึงเริ่มมีกระแสข่าวลือไปทั่วว่าพระราชินีทรงอยู่กินกับพระศพพระสวามี โดยทรงกอดและจุมพิตพระศพทุกๆคืนแต่ความจริงคือพระนางทรงได้รับข่าวลือว่า พระศพถูกขโมยไปจึงทรงเปิดดูเท่านั้น เมื่อมีการเคลื่อนย้ายพระศพไปฝังยังเมืองกรานาดาทางตอนใต้ของสเปน พระนางมิให้หญิงใดเข้าใกล้พระศพพระสวามี ทั้งนางกำนัล นางรับใช้ แม้แต่แม่ชีด้วยทรงหึงหวงพระสวามีมาก ตลอดเวลาที่เดินทางทรงสั่งให้เปิดดูพระศพทุกวัน ถึงกับทรงกอดลูบพระศพ จนเป็นที่น่าสังเวศแก่ข้าราชบริภารทั้งหลายที่เห็น

การถูกขัง

พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2พระบิดาจึงได้ดำเนินการเสนอต่อสภาประกาศให้ สมเด็จพระราชินีฮวนน่า เป็นบุคคลไร้ความสามารถ จากการที่ทรงเสียพระสติและมีคำสั่งกักบริเวณพระราชินีผู้เสียสติไว้ที่ปราสาททอเดซียัส แล้วรวบอำนาจในการปกครองมาไว้ที่พระองค์ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทน

ตำนาน

กษัตริย์และพระราชินีในราชวงศ์ตรัสตามาราเองก็มีหลายพระองค์ที่ประสบชะตากรรมเช่นนี้ โดยมีเรื่องเล่าอ้างถึงเหตุที่ต้องเป็นไปเช่นนี้จากคำสาปในช่วงที่มีการรวมชาติสเปนในปี พ.ศ. 2022 โดยการสมรสกันระหว่าง พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีล เป็นการรวมอาณาจักรใหญ่ 2 อาณาจักรบนคาบสมุทรไอบีเรียเข้าด้วยกันสร้างความแข็งแกร่งแก่อาณาจักรคริสต์เพื่อต่อต้านมุสลิมและชาวยิว ซึ่งภายหลังเหลือที่มั่นสุดท้ายอยู่ที่กรานาดาในขณะที่อาณาจักรคริสต์แผ่ขยายอำนาจรุกคืบลงไปยึดพื้นที่คืนมาจากพวกมัวร์ ในที่สุดก็สามารถยึดกรานาดาได้ในปี พ.ศ. 203 5แค่ช่วงที่เข้ายึด (กรานาดาแตก) ก็ปรากฏว่ามีการสังหารชาวยิวและมุสลิมจำนวนมากที่หนีออกจากกรานาดาไม่ทัน มีการออกพระราชกฤษฎีกาอารัมบา ให้ชาวยิวเปลี่ยนศาสนาเป็นคริสต์โรมันคาทอลิกไม่ก็ต้องออกไปจากสเปน ซึ่งต่อมาพวกมุสลิมก็ต้องทำตามด้วยเมื่อมีผู้ไม่ปฏิบัติตามจึงเกิดการประหารชาวยิวและมุสลิมเป็นจำนวนมากในช่วงนั้น มีเรื่องเล่าว่าในการประหารชีวิตชาวยิวที่ไม่ยอมเปลี่ยนศาสนา ซึ่งครานั้นกษัตริย์และพระราชินีเสด็จทอดพระเนตรพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์, ขุนนางและข้าราชบริพารจุดไฟเผาชาวยิวทั้งเป็น มีชาวยิวที่โกรธแค้นผู้หนึ่งตะโกนสาปแช่งออกมาจากกองไฟขณะถูกเผาว่าขอให้พระราชวงศ์ของพระองค์วิบัติในที่สุด ว่ากันว่าพระเจ้าเฟอร์ดินานที่ 2 ถึงกับตกพระทัย ตะลึงถึงกับประชวรพระวาโยตกจากพระเก้าอี้ และนี่คงเป็นต้นเหตุคำสาปวิปลาสแห่งราชวงศ์สเปนเพราะหลังจากนั้นไม่กี่ปีเจ้าชายจอห์น (อินฟอนเตฮวน) และเจ้าหญิงอิซาเบลลาผู้เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเอ็มมานูเอลแห่งโปรตุเกส พระเชษฐาและพระเชฐภคินีของเจ้าหญิงฮวนน่าก็สิ้นพระชนม์ในเวลาอันไล่เลี่ยกัน และไม่กี่ปีต่อมาเจ้าชายมิเกลพระโอรสของเจ้าหญิงอิซาเบลลาก็สิ้นพระชนม์ สร้างความปวดร้าวใจแก่พระนางอิซาเบลลาพระมารดาเป็นอย่างมาก

กลับเข้าสู่เรื่อง

มิเพียงราชินีฮวนน่าเท่านั้นที่มีการกล่าวว่าทรงเสียสติ แม้แต่พระมารดา พระราชินีอิซาเบลล่าเองก็มีพระอาการเช่นนี้อ่อนๆเหมือนกัน และเชื้อสายราชวงศ์นี้ส่วนมากก็จะมีพระชนม์ไม่ยืนยาวและไม่ค่อยสมประกอบแม้แต่สมเด็จพระอัยยิกาของเจ้าหญิงฮวนน่าเองก็มีพระสติวิปลาสเช่นกัน

บั้นปลายพระชนม์

ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน และการสวรรคต

สมเด็จพระราชินีฮวนน่าพอโอรสขึ้นครองราชย์พระนางเป็นสำเร็จรัชกาล(ปกครองร่วมกับโอรสชาลส์ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2050 พระนางเส็ดจสวรรคตในปี พ.ศ. 2093 พระศพอยู่ที่ คาปิลล่า ลิลร์ กรานดา สเปนพระนางในช่วงชีวิตแรกๆกับพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งคาสตีลดูไม่สวยงามเลย

ดูเพิ่ม

ก่อนหน้า สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา ถัดไป
พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน
กษัตริย์แห่งอารากอน
(ราชวงศ์ตรัสทามารา)

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งสเปน
พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน
กษัตริย์แห่งซิชิลี
(ราชวงศ์ตรัสทามารา)

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งสเปน
พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน
กษัตริย์แห่งเนเปิลส์
(ราชวงศ์ตรัสทามารา)

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งสเปน
พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน
และสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล

สมเด็จพระราชินีนาถแห่งกษัตริย์คาสตีลและลีออน
(ราชวงศ์ตรัสทามารา)
ร่วมราชบัลลังก์กับเจ้าชายฟิลิปรูปงาม

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งสเปน