ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ส่วนอุปกรณ์''' '''คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์''' หรือ '''ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|computer hardware}}) หรือเรียกย่อว่า '''ฮาร์ดแวร์''' ({{lang-en|hardware}})<ref>คำว่า กระด้างภัณฑ์ เป็นคำที่ผู้คนบนโลกไซเบอร์แต่งขึ้นมาซึ่งราชบัณฑิตยสถานไม่ได้บัญญัติไว้</ref> เป็นชุดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบรวมกันเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนประกอบกายภาพ เช่น [[จอภาพ]] [[เมาส์]] [[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]] แหล่งเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ [[ฮาร์ดดิสก์]] การ์ดจอ การ์ดเสียง [[หน่วยความจำ]] (RAM) [[แผงวงจรหลัก]] เป็นต้น ทั้งหมดเป็นวัตถุที่จับ<ref>{{cite web |title=Parts of computer |url=http://windows.microsoft.com/en-us/windows-vista/parts-of-a-computer |publisher=Microsoft |accessdate=5 December 2013}}</ref> ในทางกลับกัน [[ซอฟต์แวร์]] คือชุดคำสั่งที่สามารถจัดเก็บและทำงานด้วยฮาร์ดแวร์
'''ส่วนอุปกรณ์''' '''คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์''' หรือ '''ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|computer hardware}}) หรือเรียกย่อว่า '''ฮาร์ดแวร์''' ({{lang-en|hardware}})<ref>คำว่า กระด้างภัณฑ์ เป็นคำที่ผู้คนบนโลกไซเบอร์แต่งขึ้นมาซึ่งราชบัณฑิตยสถานไม่ได้บัญญัติไว้</ref> เป็นชุดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบรวมกันเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนประกอบกายภาพ เช่น [[จอภาพ]] [[เมาส์]] [[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]] แหล่งเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ [[ฮาร์ดดิสก์]] การ์ดจอ การ์ดเสียง [[หน่วยความจำ]] (RAM) [[แผงวงจรหลัก]] เป็นต้น ทั้งหมดเป็นวัตถุที่จับ<ref>{{cite web |title=Parts of computer |url=http://windows.microsoft.com/en-us/windows-vista/parts-of-a-computer |publisher=Microsoft |accessdate=5 December 2013}}</ref> ในทางกลับกัน [[ซอฟต์แวร์]] คือชุดคำสั่งที่สามารถจัดเก็บและทำงานด้วยฮาร์ดแวร์


ซอฟต์แวร์เป็นชุดของคำสั่งที่เครื่องอ่านได้ใด ๆ ที่กำหนดการทำงานคำสั่งต่าง ๆ ของหน่วยประมวลผล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมกันได้เป็นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน<ref>{{cite web |last=Smither |first=Roger |title=Use of computers in audiovisual archives |url=http://www.unesco.org/webworld/ramp/html/r9704e/r9704e0x.htm |publisher=UNESCO |accessdate=5 December 2013}}</ref>
ซอฟต์แวร์เป็นชุดของคำสั่งที่เครื่องอ่านได้ใด ๆ ที่กำหนดการทำงานคำสั่งต่าง ๆ ของหน่วยประมวลผล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมกัນได้เป็นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน<ref>{{cite web |last=Smither |first=Roger |title=Use of computers in audiovisual archives |url=http://www.unesco.org/webworld/ramp/html/r9704e/r9704e0x.htm |publisher=UNESCO |accessdate=5 December 2013}}</ref>


ความจริง ขอบเขตที่แบ่งระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ไม่ได้ชัดเจน เพราะระหว่างกลางอาจจะมี[[เฟิร์มแวร์|เฟิร์ม]]ต้องได้[[เฟิร์มแวร์|แวร์]] ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างมาโดยเฉพาะ เพื่อฝังไว้ในฮาร์ดแวร์อยู่ด้วย โดยที่ผู้ใช้ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องกังวลกับเฟิร์มแวร์เหล่านี้ เพราะเป็นส่วนที่[[โปรแกรมเมอร์]] และ[[วิศวกรคอมพิวเตอร์]] เป็นผู้ดูแลรักษาประตูทางคอมพิวเตอร์
ความจริง ขอบเขตที่แบ่งระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ไม่ได้ชัดเจน เพราะระหว่างกลางอาจจะมี[[เฟิร์มแวร์|เฟิร์ม]]ต้องได้[[เฟิร์มแวร์|แวร์]] ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างมาโดยเฉพาะ เพื่อฝังไว้ในฮาร์ดแวร์อยู่ด้วย โดยที่ผู้ใช้ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องกังวลกับเฟิร์มแวร์เหล่านี้ เพราะเป็นส่วนที่[[โปรแกรมเมอร์]] และ[[วิศวกรคอมพิวเตอร์]] เป็นผู้ดูแลรักษาประตูทางคอมพิวเตอร์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:40, 29 มกราคม 2561

แผงวงจรในหน่วยประมวลผลกลางรุ่น PDP-11

ส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ หรือ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer hardware) หรือเรียกย่อว่า ฮาร์ดแวร์ (อังกฤษ: hardware)[1] เป็นชุดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบรวมกันเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนประกอบกายภาพ เช่น จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด แหล่งเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสก์ การ์ดจอ การ์ดเสียง หน่วยความจำ (RAM) แผงวงจรหลัก เป็นต้น ทั้งหมดเป็นวัตถุที่จับ[2] ในทางกลับกัน ซอฟต์แวร์ คือชุดคำสั่งที่สามารถจัดเก็บและทำงานด้วยฮาร์ดแวร์

ซอฟต์แวร์เป็นชุดของคำสั่งที่เครื่องอ่านได้ใด ๆ ที่กำหนดการทำงานคำสั่งต่าง ๆ ของหน่วยประมวลผล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมกัນได้เป็นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน[3]

ความจริง ขอบเขตที่แบ่งระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ไม่ได้ชัดเจน เพราะระหว่างกลางอาจจะมีเฟิร์มต้องได้แวร์ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างมาโดยเฉพาะ เพื่อฝังไว้ในฮาร์ดแวร์อยู่ด้วย โดยที่ผู้ใช้ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องกังวลกับเฟิร์มแวร์เหล่านี้ เพราะเป็นส่วนที่โปรแกรมเมอร์ และวิศวกรคอมพิวเตอร์ เป็นผู้ดูแลรักษาประตูทางคอมพิวเตอร์

อ้างอิง

  1. คำว่า กระด้างภัณฑ์ เป็นคำที่ผู้คนบนโลกไซเบอร์แต่งขึ้นมาซึ่งราชบัณฑิตยสถานไม่ได้บัญญัติไว้
  2. "Parts of computer". Microsoft. สืบค้นเมื่อ 5 December 2013.
  3. Smither, Roger. "Use of computers in audiovisual archives". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 December 2013.