ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดขันเงิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ณปฏล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ณปฏล (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


== พระวิหารเล็ก ==
== พระวิหารเล็ก ==
ภายในพระวิหารเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณ มีอายุมากกว่า 100 ปี นามว่า หลวงพ่ออินทร์ องค์พระเป็นพระพุทธรูปก่ออิฐโบกด้วยปูนขาวที่ทำจากเปลือหอยทะเลเผาไฟตำละเอียดผสมกับน้ำอ้อยเคี่ยวแล้วโบกปั้นเป็นองค์พระ
ภายในพระวิหารเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณ มีอายุมากกว่า 100 ปี นามว่า หลวงพ่ออินทร์ องค์พระเป็นพระพุทธรูปก่ออิฐโบกด้วยปูนขาวที่ทำจากเปลือหอยทะเลเผาไฟตำละเอียดผสมกับน้ำอ้อยเคี่ยวแล้วโบกปั้นเป็นองค์พระ เดิมพระพุทธรูปองค์นี้ประดิษฐานเป็นประธานอยู่ที่พระอุโบสถหลังเก่า เมื่อรื้อพระอุโบสถหลังเก่าแล้ว จึงได้ย้ายพระพุทธรูปมาประดิษฐานที่พระวิหารเล็ก ซึ่งอยู่ใกล้กันกับพระอุโบสถหลังใหม่จนถึงปัจจุบัน


== เจ้าอาวาส ==
== เจ้าอาวาส ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:21, 26 มกราคม 2561

วัดขันเงิน
แผนที่
ชื่อสามัญวัดขันเงิน พระอารามหลวง
ที่ตั้งเลขที่ 3 ซอย 4 ถนนหลังสวน ตำบลวังตะกอ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 86110
ประเภทพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
นิกายเถรวาท
พระประธานพระพุทธชินราชจำลอง
พระพุทธรูปสำคัญหลวงพ่ออินทร์
เจ้าอาวาสพระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม)
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดขันเงิน เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ[1] อยู่ในเขตการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 16 ตั้งอยู่ที่ ตำบลวังตะกอ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

ประวัติ

ในหนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร” ระบุว่าวัดขันเงินสร้างเมื่อ พ.ศ.2369 แต่เมื่อสืบค้นหลักฐานต่างๆของจังหวัดชุมพร จากกรมการศาสนา จึงทราบว่าวัดขันเงินสร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.๒๒๔๐ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังสุดเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๙

พระอุโบสถ

พระวิหารเล็ก

ภายในพระวิหารเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณ มีอายุมากกว่า 100 ปี นามว่า หลวงพ่ออินทร์ องค์พระเป็นพระพุทธรูปก่ออิฐโบกด้วยปูนขาวที่ทำจากเปลือหอยทะเลเผาไฟตำละเอียดผสมกับน้ำอ้อยเคี่ยวแล้วโบกปั้นเป็นองค์พระ เดิมพระพุทธรูปองค์นี้ประดิษฐานเป็นประธานอยู่ที่พระอุโบสถหลังเก่า เมื่อรื้อพระอุโบสถหลังเก่าแล้ว จึงได้ย้ายพระพุทธรูปมาประดิษฐานที่พระวิหารเล็ก ซึ่งอยู่ใกล้กันกับพระอุโบสถหลังใหม่จนถึงปัจจุบัน

เจ้าอาวาส

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, [1]
ลำดับที่ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 พระอาจารย์อุ ? ?
2 พระอาจารย์อิน ? ?
3 พระอาจารย์ชัย ? ?
4 พระอาจารย์หนู ? 2445
5 พระเทพวงศาจารย์ (จันทร์ โกสโล) 2447 2506
6 พระราชญาณกวี (บุญชวน เขมาภิรโต) 2508 2531
7 พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) 2532 ปัจจุบัน