ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สมีสกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
|}
|}


'''แก๊สมีตระกูล''' ({{lang-en|Noble gas}}) หมายถึง ก๊าซที่ไม่ไวต่อการทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ไม่เกิดสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์และซัลไฟล์ กลุ่ม[[ธาตุเคมี]]ที่มีสมบัติเหมือนกัน: ที่[[ภาวะมาตรฐาน]] ธาตุในหมู่นี้จะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เป็นแก๊สที่เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา แก๊สมีตระกูลหกตัวที่ปรากฏในธรรมชาติ ได้แก่ [[ฮีเลียม|ฮีเลียม (He)]], [[นีออน|นีออน (Ne)]], [[อาร์กอน|อาร์กอน (Ar)]], [[คริปทอน|คริปทอน (Kr)]], [[ซีนอน|ซีนอน (Xe)]] และ[[เรดอน|เรดอน (Rn)]] ซึ่งเป็นกัมมันตรังสี ธาตุพวกนี้เป็นธาตุโมเลกุลเดี่ยว (monoatomic molecule)
'''แก๊สมีตระกูล''' ({{lang-en|Noble gas}}) หมายถึง แก๊สที่ไม่ไวต่อการทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ไม่เกิดสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์และซัลไฟล์ กลุ่ม[[ธาตุเคมี]]ที่มีสมบัติเหมือนกัน: ที่[[ภาวะมาตรฐาน]] ธาตุในหมู่นี้จะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เป็นแก๊สที่เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา แก๊สมีตระกูลหกตัวที่ปรากฏในธรรมชาติ ได้แก่ [[ฮีเลียม|ฮีเลียม (He)]], [[นีออน|นีออน (Ne)]], [[อาร์กอน|อาร์กอน (Ar)]], [[คริปทอน|คริปทอน (Kr)]], [[ซีนอน|ซีนอน (Xe)]] และ[[เรดอน|เรดอน (Rn)]] ซึ่งเป็นกัมมันตรังสี ธาตุพวกนี้เป็นธาตุโมเลกุลเดี่ยว (monoatomic molecule)


แก๊สมีตระกูลมีคุณสมบัติดังนี้
แก๊สมีตระกูลมีคุณสมบัติดังนี้
* เป็นก๊าซที่ไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆ เพราะ[[เวเลนซ์อิเล็กตรอน|อิเล็กตรอนชั้นนอกสุด]] (valence electron) ครบ 8 อะตอม (ยกเว้น He ที่มี 2 อะตอม)
* เป็นแก๊สที่ไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆ เพราะ[[เวเลนซ์อิเล็กตรอน|อิเล็กตรอนชั้นนอกสุด]] (valence electron) ครบ 8 อะตอม (ยกเว้น He ที่มี 2 อะตอม)
* มีสถานะเป็นก๊าซทั้งหมด (1 โมเลกุล ประกอบด้วยอะตอม 1 อะตอม) ได้แก่ He, Ar, Kr, Rn
* มีสถานะเป็นแก๊สทั้งหมด (1 โมเลกุล ประกอบด้วยอะตอม 1 อะตอม) ได้แก่ He, Ar, Kr, Rn
* ปัจจุบันพบก๊าซเฉื่อยบางชนิด เช่น Kr และ Xe สามารถทำปฏิกิริยากับ F และ O ได้ เช่น KrF<sub>2</sub>, XeF<sub>2</sub>, XeF<sub>4</sub>, XeF<sub>6</sub>, XeO<sub>3</sub>, XeO<sub>4</sub>
* ปัจจุบันพบแก๊สเฉื่อยบางชนิด เช่น Kr และ Xe สามารถทำปฏิกิริยากับ F และ O ได้ เช่น KrF<sub>2</sub>, XeF<sub>2</sub>, XeF<sub>4</sub>, XeF<sub>6</sub>, XeO<sub>3</sub>, XeO<sub>4</sub>
* ก๊าซเฉื่อยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็น "วันเดอร์วาลส์" จึงทำให้มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ
* ก๊าซเฉื่อยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็น "วันเดอร์วาลส์" จึงทำให้มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:36, 30 ธันวาคม 2560

หมู่ 18
คาบ
1 2
He
2 10
Ne
3 18
Ar
4 36
Kr
5 54
Xe
6 86
Rn
7 118
Og

แก๊สมีตระกูล (อังกฤษ: Noble gas) หมายถึง แก๊สที่ไม่ไวต่อการทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ไม่เกิดสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์และซัลไฟล์ กลุ่มธาตุเคมีที่มีสมบัติเหมือนกัน: ที่ภาวะมาตรฐาน ธาตุในหมู่นี้จะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เป็นแก๊สที่เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา แก๊สมีตระกูลหกตัวที่ปรากฏในธรรมชาติ ได้แก่ ฮีเลียม (He), นีออน (Ne), อาร์กอน (Ar), คริปทอน (Kr), ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn) ซึ่งเป็นกัมมันตรังสี ธาตุพวกนี้เป็นธาตุโมเลกุลเดี่ยว (monoatomic molecule)

แก๊สมีตระกูลมีคุณสมบัติดังนี้

  • เป็นแก๊สที่ไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆ เพราะอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (valence electron) ครบ 8 อะตอม (ยกเว้น He ที่มี 2 อะตอม)
  • มีสถานะเป็นแก๊สทั้งหมด (1 โมเลกุล ประกอบด้วยอะตอม 1 อะตอม) ได้แก่ He, Ar, Kr, Rn
  • ปัจจุบันพบแก๊สเฉื่อยบางชนิด เช่น Kr และ Xe สามารถทำปฏิกิริยากับ F และ O ได้ เช่น KrF2, XeF2, XeF4, XeF6, XeO3, XeO4
  • ก๊าซเฉื่อยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็น "วันเดอร์วาลส์" จึงทำให้มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ

อ้างอิง