ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรหงสาวดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
|year_end = พ.ศ. 2094
|year_end = พ.ศ. 2094
|date_end = 12 มีนาคม
|date_end = 12 มีนาคม
|event1 = รัฐบรรณาการของ [[อาณาจักรสุโขทัย]]
|event1 = ประเทศราชของ[[อาณาจักรสุโขทัย]]
|date_event1 = พ.ศ. 1836 - 1873
|date_event1 = พ.ศ. 1836 - 1873
|event2 = [[สงครามสี่สิบปี]]
|event2 = [[สงครามสี่สิบปี]]
บรรทัด 46: บรรทัด 46:
|leader4 = [[พระเจ้าธรรมเจดีย์]]
|leader4 = [[พระเจ้าธรรมเจดีย์]]
|year_leader4 = พ.ศ. 2114 - 2035
|year_leader4 = พ.ศ. 2114 - 2035
|leader5 = [[พระเจ้าทากายุตปี]]
|leader5 = [[พระเจ้าสการวุตพี]]
|year_leader5 = พ.ศ. 2069 - 2082
|year_leader5 = พ.ศ. 2069 - 2082
| title_leader = พระมหากษัตริย์
| title_leader = พระมหากษัตริย์
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
|legislature =
|legislature =
}}
}}
'''อาณาจักรหงสาวดี''' ({{lang-my|ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်}}; {{Lang-mnw|ဟံသာဝတဳ}}, {{IPA|[hɔŋsawətɔe]}}; บางครั้งเรียก '''กรุงหงสาวดี''' หรืออย่างสั้น '''พะโค''') เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต่ พ.ศ. 1830 จนถึง พ.ศ. 2082 และระหว่าง พ.ศ. 2093 - 2095 เป็นอาณาจักรของผู้ที่พูด[[ภาษามอญ]] ก่อตั้งในฐานะรามัญประเทศ ({{lang-my|ရာမညဒေသ}}, {{lang-mnw|ရးမည}}) โดย[[พระเจ้าฟ้ารั่ว]]หรือมะกะโท หลังจากการล่มสลายของอาณาจักรพุกามใน พ.ศ. 1830<ref name=Coedes>{{cite book|last= Coedès|first= George|authorlink= George Coedès|editor= Walter F. Vella|others= trans.Susan Brown Cowing|title= The Indianized States of Southeast Asia|year= 1968|publisher= University of Hawaii Press|isbn= 978-0-8248-0368-1}}</ref>{{rp|205–206,209}} ในฐานะ[[ประเทศราช]]ของ[[อาณาจักรสุโขทัย]]และ[[ราชวงศ์หยวน]]ของมองโกลที่ปกครองจีน<ref name="hb">Htin Aung 1967: 78–80</ref> อาณาจักรนี้เป็นอิสระจากสุโขทัยใน พ.ศ. 1873 แต่ยังมีความสัมพันธ์แบบหลวมๆกับศูนย์กลางอำนาจหลักในขณะนั้นคือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี พะโค และเมาะตะมะ เมาะตะมะเกิดกบฏขึ้นใน พ.ศ. 1906 - 1931

'''อาณาจักรหงสาวดี''' ({{lang-my|ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်}}; {{Lang-mnw|ဟံသာဝတဳ}}, {{IPA|[hɔŋsawətɔe]}}; บางครั้งเรียก '''หงสาวดี''' หรืออย่างสั้น '''พะโค''') เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต่ พ.ศ. 1830 จนถึง พ.ศ. 2082 และระหว่าง พ.ศ. 2093 - 2095 เป็นอาณาจักรของผู้ที่พูด[[ภาษามอญ]] ก่อตั้งในฐานะรามัญประเทศ ({{lang-my|ရာမညဒေသ}}, {{lang-mnw|ရးမည}}) โดย[[พระเจ้าฟ้ารั่ว]]หรือมะกะโท หลังจากการล่มสลายของอาณาจักรพุกามใน พ.ศ. 1830<ref name=Coedes>{{cite book|last= Coedès|first= George|authorlink= George Coedès|editor= Walter F. Vella|others= trans.Susan Brown Cowing|title= The Indianized States of Southeast Asia|year= 1968|publisher= University of Hawaii Press|isbn= 978-0-8248-0368-1}}</ref>{{rp|205–206,209}} ในฐานะรัฐบรรณาการของ[[อาณาจักรสุโขทัย]]และ[[ราชวงศ์หยวน]]ของมองโกลที่ปกครองจีน<ref name="hb">Htin Aung 1967: 78–80</ref> อาณาจักรนี้เป็นอิสระจากสุโขทัยใน พ.ศ. 1873 แต่ยังมีความสัมพันธ์แบบหลวมๆกับศูนย์กลางอำนาจหลักในขณะนั้นคือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี พะโค และเมาะตะมะ เมาะตะมะเกิดกบฏขึ้นใน พ.ศ. 1906 - 1931


==ประวัติศาสตร์==
==ประวัติศาสตร์==
การปกครองของพระเจ้าราชาธิราชใน พ.ศ. 1927 -1964 ได้รวมอาณาจักรของชาวมอญเข้าเป็นหนึ่งเดียวและประสบความสำเร็จในการต้านทานการรุกรานจาก[[อาณาจักรอังวะ]] อาณาจักรของผู้ที่พูด[[ภาษาพม่า]]จากทางเหนือ ใน[[สงครามสี่สิบปี]] (พ.ศ. 1928 - 1967) และสามารถขยายตัวไปทางตะวันตกได้[[อาณาจักรยะไข่]] ไว้ในอำนาจระหว่าง พ.ศ. 1956 - 1964 เมื่อสงครามสิ้นสุดลง ถือเป็นชัยชนะของอาณาจักรหงสาวดีในฐานะที่สามารถขัดขวางการสถาปนาจักรวรรดิพุกามอีกครั้งของอาณาจักรอังวะ หลังสงครามหงสาวดีได้ช่วยเหลือรัฐบรรณาการทางตอนใต้ของอังวะคือ [[อาณาจักรแปร]] และ[[อาณาจักรตองอู]]ในการก่อกบฏต่ออังวะ
การปกครองของพระเจ้าราชาธิราชใน พ.ศ. 1927 -1964 ได้รวมอาณาจักรของชาวมอญเข้าเป็นหนึ่งเดียวและประสบความสำเร็จในการต้านทานการรุกรานจาก[[อาณาจักรอังวะ]] อาณาจักรของผู้ที่พูด[[ภาษาพม่า]]จากทางเหนือ ใน[[สงครามสี่สิบปี]] (พ.ศ. 1928 - 1967) และสามารถขยายตัวไปทางตะวันตกได้[[อาณาจักรยะไข่]] ไว้ในอำนาจระหว่าง พ.ศ. 1956 - 1964 เมื่อสงครามสิ้นสุดลง ถือเป็นชัยชนะของอาณาจักรหงสาวดีในฐานะที่สามารถขัดขวางการสถาปนาจักรวรรดิพุกามอีกครั้งของอาณาจักรอังวะ หลังสงครามหงสาวดีได้ช่วยเหลือรัฐบรรณาการทางตอนใต้ของอังวะคือ [[อาณาจักรแปร]] และ[[อาณาจักรตองอู]]ในการก่อกบฏต่ออังวะ


หลังสงครามหงสาวดีเข้าสู่ยุคทองในขณะที่อาณาจักรอังวะตกต่ำลง ในราว พ.ศ. 1963 - 2073 หงสาวดีเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในยุคหลังจักรวรรดิอังวะ ภายใต้การปกครองของกษัตริย์หลายพระองค์ เช่น [[พระเจ้าบินยรานที่ 1]] [[พระนางเชงสอบู]] [[พระเจ้าธรรมเจดีย์]] และ [[พระเจ้าบินยรานที่ 2]] อาณาจักรมีบทบาทสำคัญทางการค้าในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศรีลังกา<ref name="rlf">Myint-U 2006: 64–65</ref>
หลังสงครามหงสาวดีเข้าสู่ยุคทองในขณะที่อาณาจักรอังวะตกต่ำลง ในราว พ.ศ. 1963 - 2073 หงสาวดีเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในยุคหลังจักรวรรดิอังวะ ภายใต้การปกครองของกษัตริย์หลายพระองค์ เช่น [[พญารามที่ 1]] [[พระนางเชงสอบู]] [[พระเจ้าธรรมเจดีย์]] และ[[พญารามที่ 2]] อาณาจักรมีบทบาทสำคัญทางการค้าในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศรีลังกา<ref name="rlf">Myint-U 2006: 64–65</ref>


อาณาจักรค่อยๆอ่อนแอลงตั้งแต่ พ.ศ. 2077 ในการรุกรานของ [[อาณาจักรตองอู]] จาก[[พม่าตอนบน]] [[พระเจ้าทากายุตปี]] ไม่สามารถต่อต้านอาณาจักรตองอูที่นำโดย [[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]] และ [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ตองอูเข้ายึดครองหงสาวดีและที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีใน พ.ศ. 2081 - 2082 และเมาะตะมะใน พ.ศ. 2084 <ref name="geh">Harvey 1925: 153–157</ref> อาณาจักรนี้ฟื้นตัวขึ้นมาได้อีกครั้งใน พ.ศ. 2093 หลังจากพระเจ้าตะเบงชะเวตี้สิ้นพระชนม์ แต่มีอำนาจปกครองเพียงแค่เมืองหงสาวดี ก่อนถูกพระเจ้าบุเรงนองปราบได้อย่างรวดเร็วในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2094
อาณาจักรค่อยๆอ่อนแอลงตั้งแต่ พ.ศ. 2077 ในการรุกรานของ[[อาณาจักรตองอู]]จาก[[พม่าตอนบน]] [[พระเจ้าสการะวุตพี]]ไม่สามารถต่อต้านอาณาจักรตองอูที่นำโดย[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]และ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] ตองอูเข้ายึดครองหงสาวดีและที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีใน พ.ศ. 2081 - 2082 และเมาะตะมะใน พ.ศ. 2084 <ref name="geh">Harvey 1925: 153–157</ref> อาณาจักรนี้ฟื้นตัวขึ้นมาได้อีกครั้งใน พ.ศ. 2093 หลังจากพระเจ้าตะเบงชะเวตี้สิ้นพระชนม์ แต่มีอำนาจปกครองเพียงแค่เมืองหงสาวดี ก่อนถูกพระเจ้าบุเรงนองปราบได้อย่างรวดเร็วในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2094


แม้ว่ากษัตริย์ในราชวงศ์ตองอูจะปกครองพม่าตอนล่างจนถึงพุทธศตวรรษที่ 23 แต่ยุคทองของอาณาจักรหงสาวดียังเป็นที่จดจำของชาวมอญในพม่าตอนล่าง ปี พ.ศ. 2283 ได้มีการก่อกบฎต่อต้านราชวงศ์ตองอูที่อ่อนแอและก่อตั้ง [[อาณาจักรหงสาวดีใหม่]]
แม้ว่ากษัตริย์ในราชวงศ์ตองอูจะปกครองพม่าตอนล่างจนถึงพุทธศตวรรษที่ 23 แต่ยุคทองของอาณาจักรหงสาวดียังเป็นที่จดจำของชาวมอญในพม่าตอนล่าง ปี พ.ศ. 2283 ได้มีการก่อกบฎต่อต้านราชวงศ์ตองอูที่อ่อนแอและก่อตั้ง[[อาณาจักรหงสาวดีใหม่]]


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==
*[[อาณาจักรมอญ]]
* [[อาณาจักรมอญ]]
*[[อาณาจักรสุธรรมวดี]]
* [[อาณาจักรสุธรรมวดี]]
*[[อาณาจักรหงสาวดีใหม่]]
* [[อาณาจักรหงสาวดีใหม่]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:53, 23 ธันวาคม 2560

อาณาจักรหงสาวดี

ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်
พ.ศ. 1830–พ.ศ. 2094
ธงชาติอาณาจักรหงสาวดี
ธงอาณาจักรหงสาวดี
อาณาจักรหงสาวดี ประมาณ พ.ศ. 1993
อาณาจักรหงสาวดี ประมาณ พ.ศ. 1993
สถานะอาณาจักร
เมืองหลวงมะตะบัน (พ.ศ. 1830 - 1906)
ดอนวุน (พ.ศ. 1906 - 1912)
หงสาวดี (พ.ศ. 1912 - 2082, พ.ศ. 2093 - 2095)
ภาษาทั่วไปภาษามอญ
ศาสนา
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
พระมหากษัตริย์ 
• พ.ศ. 1830 - 1850
พระเจ้าฟ้ารั่ว
• พ.ศ. 1927 -1964
พระเจ้าราชาธิราช
• พ.ศ. 2097 - 2114
พระนางเชงสอบู
• พ.ศ. 2114 - 2035
พระเจ้าธรรมเจดีย์
• พ.ศ. 2069 - 2082
พระเจ้าสการวุตพี
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้งอาณาจักร
4 เมษายน พ.ศ. 1830
• ประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัย
พ.ศ. 1836 - 1873
พ.ศ. 1928 - 1967
• ยุคทอง
พ.ศ. 1969 - 2077
พ.ศ. 2077 - 2082
12 มีนาคม พ.ศ. 2094
ก่อนหน้า
ถัดไป
อาณาจักรพุกาม
อาณาจักรตองอู

อาณาจักรหงสาวดี (พม่า: ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်; มอญ: ဟံသာဝတဳ, [hɔŋsawətɔe]; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต่ พ.ศ. 1830 จนถึง พ.ศ. 2082 และระหว่าง พ.ศ. 2093 - 2095 เป็นอาณาจักรของผู้ที่พูดภาษามอญ ก่อตั้งในฐานะรามัญประเทศ (พม่า: ရာမညဒေသ, มอญ: ရးမည) โดยพระเจ้าฟ้ารั่วหรือมะกะโท หลังจากการล่มสลายของอาณาจักรพุกามใน พ.ศ. 1830[1]: 205–206, 209  ในฐานะประเทศราชของอาณาจักรสุโขทัยและราชวงศ์หยวนของมองโกลที่ปกครองจีน[2] อาณาจักรนี้เป็นอิสระจากสุโขทัยใน พ.ศ. 1873 แต่ยังมีความสัมพันธ์แบบหลวมๆกับศูนย์กลางอำนาจหลักในขณะนั้นคือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี พะโค และเมาะตะมะ เมาะตะมะเกิดกบฏขึ้นใน พ.ศ. 1906 - 1931

ประวัติศาสตร์

การปกครองของพระเจ้าราชาธิราชใน พ.ศ. 1927 -1964 ได้รวมอาณาจักรของชาวมอญเข้าเป็นหนึ่งเดียวและประสบความสำเร็จในการต้านทานการรุกรานจากอาณาจักรอังวะ อาณาจักรของผู้ที่พูดภาษาพม่าจากทางเหนือ ในสงครามสี่สิบปี (พ.ศ. 1928 - 1967) และสามารถขยายตัวไปทางตะวันตกได้อาณาจักรยะไข่ ไว้ในอำนาจระหว่าง พ.ศ. 1956 - 1964 เมื่อสงครามสิ้นสุดลง ถือเป็นชัยชนะของอาณาจักรหงสาวดีในฐานะที่สามารถขัดขวางการสถาปนาจักรวรรดิพุกามอีกครั้งของอาณาจักรอังวะ หลังสงครามหงสาวดีได้ช่วยเหลือรัฐบรรณาการทางตอนใต้ของอังวะคือ อาณาจักรแปร และอาณาจักรตองอูในการก่อกบฏต่ออังวะ

หลังสงครามหงสาวดีเข้าสู่ยุคทองในขณะที่อาณาจักรอังวะตกต่ำลง ในราว พ.ศ. 1963 - 2073 หงสาวดีเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในยุคหลังจักรวรรดิอังวะ ภายใต้การปกครองของกษัตริย์หลายพระองค์ เช่น พญารามที่ 1 พระนางเชงสอบู พระเจ้าธรรมเจดีย์ และพญารามที่ 2 อาณาจักรมีบทบาทสำคัญทางการค้าในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศรีลังกา[3]

อาณาจักรค่อยๆอ่อนแอลงตั้งแต่ พ.ศ. 2077 ในการรุกรานของอาณาจักรตองอูจากพม่าตอนบน พระเจ้าสการะวุตพีไม่สามารถต่อต้านอาณาจักรตองอูที่นำโดยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้าบุเรงนอง ตองอูเข้ายึดครองหงสาวดีและที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดีใน พ.ศ. 2081 - 2082 และเมาะตะมะใน พ.ศ. 2084 [4] อาณาจักรนี้ฟื้นตัวขึ้นมาได้อีกครั้งใน พ.ศ. 2093 หลังจากพระเจ้าตะเบงชะเวตี้สิ้นพระชนม์ แต่มีอำนาจปกครองเพียงแค่เมืองหงสาวดี ก่อนถูกพระเจ้าบุเรงนองปราบได้อย่างรวดเร็วในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2094

แม้ว่ากษัตริย์ในราชวงศ์ตองอูจะปกครองพม่าตอนล่างจนถึงพุทธศตวรรษที่ 23 แต่ยุคทองของอาณาจักรหงสาวดียังเป็นที่จดจำของชาวมอญในพม่าตอนล่าง ปี พ.ศ. 2283 ได้มีการก่อกบฎต่อต้านราชวงศ์ตองอูที่อ่อนแอและก่อตั้งอาณาจักรหงสาวดีใหม่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Coedès, George (1968). Walter F. Vella (บ.ก.). The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-0368-1.
  2. Htin Aung 1967: 78–80
  3. Myint-U 2006: 64–65
  4. Harvey 1925: 153–157
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Myint-U, Thant (2006). The River of Lost Footsteps—Histories of Burma. Farrar, Straus and Giroux. ISBN 978-0-374-16342-6.
  • Pan Hla, Nai (1968). Razadarit Ayedawbon (ภาษาBurmese) (8th printing, 2004 ed.). Yangon: Armanthit Sarpay.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)