ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
[[ไฟล์:National Museum KL 2008 (36).JPG|200px|thumb|"[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]]" ที่หัวเมือง[[มลายู]]ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม]]
[[ไฟล์:National Museum KL 2008 (36).JPG|200px|thumb|"[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]]" ที่หัวเมือง[[มลายู]]ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม]]
'''ประเทศราช''' หรือ '''รัฐบรรณาการ''' หมายถึง [[รัฐ]]ที่มี[[ประมุข]]เป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของ[[พระมหากษัตริย์]]อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราช<ref>ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ''ประวัติศาสตร์วิพากษ์ : สยามไทยกับปาตานี''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 177</ref>ต้องส่งเครื่องราช[[บรรณาการ]]ถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708</ref> มีลักษณะคล้าย[[รัฐในอารักขา]]ของ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก มีลักษณะคล้าย[[รัฐในอารักขา]]ของ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก
'''ประเทศราช'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708</ref> หรือ '''รัฐบรรณาการ''' เป็นสถานะของรัฐที่ปรากฏอยู่ในทวีปเอเชีย หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งได้ให้คำมั่นสัญญาว่าจะภักดีแก่กษัตริย์ของรัฐอื่น(การถือน้ำพิพัฒสัตยา)ที่เข้มแข็งกว่าซึ่งเรียกว่า "เจ้าอธิราช" โดยที่เจ้าอธิราชมีภาระหน้าที่ต้องคุ้มครองประเทศราชจากภัยคุกคามจากรัฐอื่น และในบางครั้ง เจ้าอธิราชอาจร้องขอให้ประเทศราชสนับสนุนด้านกำลังพลในยามสงคราม ซึ่งเจ้าประเทศราชจะส่งหรือไม่ส่งก็ได้ เนื่องจากเจ้าประเทศราชมีอำนาจเต็มและสิทธิเด็ดขาดในกิจการทั้งปวงในประเทศราช มีอำนาจสามารถสั่งการทหารได้อย่างอิสระ เจ้าประเทศราชมีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายเจ้าอธิราชเป็นประจำตามกำหนด


ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้[[ราชวงศ์หยวน]]ของจีน (พ.ศ. 1813–1899), [[กรุงศรีอยุธยา]]ภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), [[นครเชียงใหม่]]ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)
ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้[[ราชวงศ์หยวน]]ของจีน (พ.ศ. 1813–1899), [[กรุงศรีอยุธยา]]ภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), [[นครเชียงใหม่]]ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)

== สยาม ==
ประเทศราชของสยาม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น<ref>ชูวงศ์ ฉายะบุตร, ''การปกครองท้องถิ่นไทย'', พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์, หน้า44</ref> ตามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมือง ได้แก่
# '''พระเจ้าประเทศราช''' เช่น [[พระเจ้าดวงทิพย์]] ผู้ครองนครลำปาง
# '''เจ้าพระยาประเทศราช''' เช่น [[เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช]]
# '''พระยาประเทศราช''' เช่น [[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)]] ผู้ครองนครเชียงใหม่

=== ศักดินา ===
ในราชอาณาจักรสยาม [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้โปรดให้ตรา'''พระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2442/016/197.PDF พระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช], เล่ม 16, วันที่ 16 กรกฎาคม ร.ศ. 118, หน้า 197</ref> ดังนี้

{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
| '''เจ้าเมืองประเทศราช''' || '''ศักดินา''' (ไร่) || '''เทียบเท่า'''
|-
| พระเจ้าประเทศราช || 15,000 || เจ้าต่างกรม
|-
| เจ้าประเทศราช || 10,000 || ข้าหลวงเทศาภิบาล
|-
| พระยาประเทศราช || 8,000 || เจ้าพระยาวังหน้า
|}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:59, 16 ธันวาคม 2560

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม

ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราช[1]ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย[2] มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก

ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)

สยาม

ประเทศราชของสยาม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น[3] ตามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมือง ได้แก่

  1. พระเจ้าประเทศราช เช่น พระเจ้าดวงทิพย์ ผู้ครองนครลำปาง
  2. เจ้าพระยาประเทศราช เช่น เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช
  3. พระยาประเทศราช เช่น พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) ผู้ครองนครเชียงใหม่

ศักดินา

ในราชอาณาจักรสยาม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ตราพระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช[4] ดังนี้

เจ้าเมืองประเทศราช ศักดินา (ไร่) เทียบเท่า
พระเจ้าประเทศราช 15,000 เจ้าต่างกรม
เจ้าประเทศราช 10,000 ข้าหลวงเทศาภิบาล
พระยาประเทศราช 8,000 เจ้าพระยาวังหน้า

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ประวัติศาสตร์วิพากษ์ : สยามไทยกับปาตานี. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 177
  2. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708
  3. ชูวงศ์ ฉายะบุตร, การปกครองท้องถิ่นไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์, หน้า44
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช, เล่ม 16, วันที่ 16 กรกฎาคม ร.ศ. 118, หน้า 197