ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
All111211133216 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 61: บรรทัด 61:


{{ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย}}
{{ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย}}
{{รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม}}

[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2535]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2535]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:45, 8 ธันวาคม 2560

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป
กำกับบัณฑิต ฤทธิ์ถกล
เขียนบทบัณฑิต ฤทธิ์ถกล
อำนวยการสร้างเจริญ เอี่ยมพึ่งพร
นักแสดงนำแอน ทองประสม
สายฟ้า เศรษฐบุตร
จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์
สายธาร นิยมการณ์
เอกชัย พงษ์ดี
แคทรียา อิงลิช
บอยสเก๊าท์
โมนา โมนิกา
ผู้บรรยายสันติสุข พรหมศิริ
กำกับภาพวันชัย เล่งอิ้ว
ตัดต่อพูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์
ดนตรีประกอบจรัล มโนเพ็ชร
ดำรง ธรรมพิทักษ์
ผู้จัดจำหน่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น
วันฉาย11 เมษายน พ.ศ. 2535
ประเทศไทย ประเทศไทย
ภาษาไทย ไทย
ต่อจากนี้อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2
ข้อมูลจากฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2535 โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดยบัณฑิต ฤทธิ์ถกล ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากประสบการณ์หลายยุคในหลายโรงเรียนโดยผู้ร่วมเขียนเรื่องและบทภาพยนตร์ เป็นเรื่องราวของความรักและมิตรภาพ ของนักเรียน ม.6 กลุ่มหนึ่ง โดยใช้ชื่อตามสถานที่ถ่ายทำคือ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้เป็นที่แจ้งเกิดของดาราวัยรุ่นหลายคนในยุคนั้น เช่น แอน ทองประสม แคทลียา อิงลิช สายธาร นิยมการณ์ และยังแจ้งเกิด วงบอยสเก๊าท์ ในปีถัดมา

นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 6 ภาพยนตร์เรื่องแรกของนักแสดงหญิงเจ้าบทบาท “แอน ทองประสม” ที่ถูกนำมารีมาสเตอร์ใหม่เพื่อเป็นการรำลึกถึงหนังเก่าสมัยอดีต

รางวัล

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2535[1]
  • ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
  • ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม - บัณฑิต ฤทธิถกล
  • ถ่ายภาพยอดเยี่ยม - วันชัย เล่งอิ้ว
  • ลำดับภาพยอดเยี่ยม - พูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์
  • เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม - จรัล มโนเพ็ชร, ดำรง ธรรมพิทักษ์
  • กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม - เจดีย์ ศุภกาญจน์, ประดิษฐ์ นิลสนธิ
  • แต่งหน้ายอดเยี่ยม - สถาบัน เอ็มทีไอ
รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2535[2]
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535[3]
  • ลำดับภาพและตัดต่อยอดเยี่ยม - พูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์

อ้างอิง

  • นิตยสาร A day ฉบับ 83 "RS The Next Superteens"

แหล่งข้อมูลอื่น