ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการก่อกวน
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]
[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]


ดนตรี ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้าน[[ศิลปะ]]ได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้าน[[สุนทรียศาสตร์]] [[การสื่อสาร]] [[ความบันเทิง]] รวมถึงใช้ในงาน[[พิธีการ]]ต่าง ๆ ได้<ref>[http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=7209/ ทฤษฎีดนตรี] เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com</ref>
'''ดนตรี''' ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้าน[[ศิลปะ]]ได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้าน[[สุนทรียศาสตร์]] [[การสื่อสาร]] [[ความบันเทิง]] รวมถึงใช้ในงาน[[พิธีการ]]ต่าง ๆ ได้<ref>[http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=7209/ ทฤษฎีดนตรี] เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com</ref>

== นิรุกติศาสตร์ ==
คำว่า "ดนตรี" มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] คือ तन्त्री (ตนฺตฺรี) ซึ่งแปลว่า [[ลูท]] คำนี้ ในภาษาอื่นที่มีรากศัพท์เดียวกัน คือ ภาษาเขมร តន្ត្រី (ดนฺตฺรี) และ ภาษาลาว ດົນຕີ (ดนตี)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:26, 3 ธันวาคม 2560

โน้ตเพลง

ดนตรี (อังกฤษ: music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้[1]

นิรุกติศาสตร์

คำว่า "ดนตรี" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต คือ तन्त्री (ตนฺตฺรี) ซึ่งแปลว่า ลูท คำนี้ ในภาษาอื่นที่มีรากศัพท์เดียวกัน คือ ภาษาเขมร តន្ត្រី (ดนฺตฺรี) และ ภาษาลาว ດົນຕີ (ดนตี)

อ้างอิง

  1. ทฤษฎีดนตรี เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Colles, Henry Cope (1978). The Growth of Music : A Study in Musical History, 4th ed., London ; New York : Oxford University Press. ISBN 0-19-316116-8 (1913 edition online at Google Books)
  • Harwood, Dane (1976). "Universals in Music: A Perspective from Cognitive Psychology". Ethnomusicology. 20 (3): 521–33. doi:10.2307/851047.
  • Small, Christopher (1977). Music, Society, Education. John Calder Publishers, London. ISBN 0-7145-3614-8