ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคป็อป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มวงดนตรี
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''เคป็อป''' ({{lang-en|K-pop}}) หรือเพลงป็อปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจาก[[เกาหลีใต้]] ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น [[ชินฮวา]], [[โบอา]], [[เรน (นักร้อง)|เรน]], [[เซเว่น (นักร้องเกาหลี)|เซเว่น]], [[ทงบังชินกี]],[[ซูเปอร์จูเนียร์]] , [[โซนยอชิแด]],[[ซิสตาร์]],[[ซีเอ็นบลู]] ,[[มิสเอ]], [[คารา]], [[วันเดอร์เกิลส์]], [[ชายนี่]],[[ก๊อตเซเว่น]], [[ทูพีเอ็ม]], [[เอฟ (เอกซ์)]], [[ที-อาร่า]], [[เอพิ้งค์ (A Pink)]], [[บีสท์ (วงดนตรีเกาหลี)|บีสท์]],[[อีเอกซ์ไอดี]],[[บีเอพี]], [[ซีเครต]], [[โฟร์มินิต]], [[บราวน์อายด์เกิลส์]] [[บังทันบอยส์]] [[เรดเวลเวต (วงดนตรี)]] , [[เอ็กโซ (วงดนตรี)]] ,ทไวซ์<ref>[[ทไวซ์]]</ref> และ[[บิ๊กแบง (วงดนตรีเกาหลี)|บิ๊กแบง]] นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น [[จีน]], [[ญี่ปุ่น]], [[ไต้หวัน]], [[ฮ่องกง]], [[ฟิลิปปินส์]], [[ไทย]] และประเทศอื่นใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบ[[ทวีปอเมริกาใต้]]ด้วย อาทิเช่น [[อาร์เจนตินา]], [[บราซิล]], [[ชิลี]] เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ใน[[กระแสเกาหลี]] ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของ[[ชาวเอเชีย]]
'''เคป็อป''' ({{lang-en|K-pop}}) หรือเพลงป็อปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจาก[[เกาหลีใต้]] ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น [[ชินฮวา]], [[โบอา]], [[เรน (นักร้อง)|เรน]], [[เซเว่น (นักร้องเกาหลี)|เซเว่น]], [[ทงบังชินกี]],[[ซูเปอร์จูเนียร์]] , [[โซนยอชิแด]],[[ซิสตาร์]],[[ซีเอ็นบลู]] ,[[มิสเอ]], [[คารา]], [[วันเดอร์เกิลส์]], [[ชายนี่]],[[ก๊อตเซเว่น]], [[ทูพีเอ็ม]], [[เอฟ (เอกซ์)]], [[ที-อาร่า]], [[เอพิ้งค์ (A Pink)]], [[บีสท์ (วงดนตรีเกาหลี)|บีสท์]],[[อีเอกซ์ไอดี]],[[บีเอพี]], [[ซีเครต]], [[โฟร์มินิต]], [[บราวน์อายด์เกิลส์]] [[บังทันบอยส์]] [[เรดเวลเวต (วงดนตรี)]] , [[เอ็กโซ (วงดนตรี)]] ,[[ทไวซ์]] และ[[บิ๊กแบง (วงดนตรีเกาหลี)|บิ๊กแบง]] นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น [[จีน]], [[ญี่ปุ่น]], [[ไต้หวัน]], [[ฮ่องกง]], [[ฟิลิปปินส์]], [[ไทย]] และประเทศอื่นใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบ[[ทวีปอเมริกาใต้]]ด้วย อาทิเช่น [[อาร์เจนตินา]], [[บราซิล]], [[ชิลี]] เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ใน[[กระแสเกาหลี]] ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของ[[ชาวเอเชีย]]


ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคป็อปให้เป็น[[ไอดอลเกาหลีใต้ |ไอดอล]] ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคป็อปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน <ref>{{cite web|url= https://www.youtube.com/watch?v=hlRGFJtwYN0|title=T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป|publisher=ไทยพีบีเอส |date=2013-04-21 |accessdate=2015-10-16}}</ref>
ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคป็อปให้เป็น[[ไอดอลเกาหลีใต้ |ไอดอล]] ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคป็อปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน <ref>{{cite web|url= https://www.youtube.com/watch?v=hlRGFJtwYN0|title=T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป|publisher=ไทยพีบีเอส |date=2013-04-21 |accessdate=2015-10-16}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:10, 25 พฤศจิกายน 2560

เคป็อป (อังกฤษ: K-pop) หรือเพลงป็อปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจากเกาหลีใต้ ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น ชินฮวา, โบอา, เรน, เซเว่น, ทงบังชินกี,ซูเปอร์จูเนียร์ , โซนยอชิแด,ซิสตาร์,ซีเอ็นบลู ,มิสเอ, คารา, วันเดอร์เกิลส์, ชายนี่,ก๊อตเซเว่น, ทูพีเอ็ม, เอฟ (เอกซ์), ที-อาร่า, เอพิ้งค์ (A Pink), บีสท์,อีเอกซ์ไอดี,บีเอพี, ซีเครต, โฟร์มินิต, บราวน์อายด์เกิลส์ บังทันบอยส์ เรดเวลเวต (วงดนตรี) , เอ็กโซ (วงดนตรี) ,ทไวซ์ และบิ๊กแบง นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น จีน, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฮ่องกง, ฟิลิปปินส์, ไทย และประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบทวีปอเมริกาใต้ด้วย อาทิเช่น อาร์เจนตินา, บราซิล, ชิลี เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ในกระแสเกาหลี ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของชาวเอเชีย

ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคป็อปให้เป็นไอดอล ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคป็อปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน [1]

อ้างอิง

  1. "T-ara ตัวอย่างความขัดแย้งของศิลปินเคป็อป". ไทยพีบีเอส. 2013-04-21. สืบค้นเมื่อ 2015-10-16.