ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดอะ พระราม 9 ซุปเปอร์ ทาวเวอร์ แอท เดอะ แกรนด์ พระราม 9"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มโน
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| caption =
| caption =
| location = โครงการ[[แกรนด์ พระราม 9|เดอะ แกรนด์ พระราม 9]] [[ถนนพระราม 9]] แขวงห้วยขวาง [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| location = โครงการ[[แกรนด์ พระราม 9|เดอะ แกรนด์ พระราม 9]] [[ถนนพระราม 9]] แขวงห้วยขวาง [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|built = พ.ศ. 2557
|built = พ.ศ. 2560
| cost = 18,000 ล้านบาท
| cost = 18,000 ล้านบาท
| status = <span style="color:#ff7e00;"> ยังไม่มีความคืบหน้า</span>
| status = <span style="color:#ff7e00;"> ยังไม่มีความคืบหน้า</span>
| opening = พ.ศ. 2563
| opening = พ.ศ. 2565
| use = โรงแรม อาคารสำนักงาน พื้นที่ค้าปลีก ศูนย์ประชุม
| use = โรงแรม อาคารสำนักงาน พื้นที่ค้าปลีก ศูนย์ประชุม
| antenna_spire =
| antenna_spire =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:13, 4 พฤศจิกายน 2560

เดอะ ซุปเปอร์ ทาวเวอร์ แอท
เดอะ แกรนด์ พระราม 9 (ชื่อชั่วคราว)
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งโครงการเดอะ แกรนด์ พระราม 9 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
สถานะ ยังไม่มีความคืบหน้า
ก่อสร้างพ.ศ. 2560
เปิดตัวพ.ศ. 2565
การใช้งานโรงแรม อาคารสำนักงาน พื้นที่ค้าปลีก ศูนย์ประชุม
ความสูง
หลังคา615 เมตร
รายละเอียด
จำนวนชั้น125 ชั้น
มูลค่า18,000 ล้านบาท
บริษัท
สถาปนิกบริษัท สถาปนิก 49 จำกัด
ผู้พัฒนาบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)
เจ้าของบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)

เดอะ พระราม 9 ซุปเปอร์ ทาวเวอร์ แอท เดอะ แกรนด์ พระราม 9 (อังกฤษ: The Rama IX Super Tower at The Grand Rama 9) เป็นตึกระฟ้าในประเทศไทย สร้างในพื้นที่โครงการเดอะ แกรนด์ พระราม 9 โดยบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) หรือ จีแลนด์ เป็นเจ้าของโครงการ ตัวอาคารมีความสูง 615 เมตร และมีจำนวนชั้น 125 ชั้น แบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ ศูนย์ประชุม อาคารสำนักงานระดับสูง พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม เมื่อสร้างเสร็จจะเป็นอาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทยและในอาเซียน อีกทั้งเป็นอาคารแรกในประเทศไทยที่มีความสูงมากกว่า 100 ชั้น โดยบริษัทใช้เงินลงทุนเฉพาะอาคารดังกล่าว 18,000 ล้านบาท [1]

เดอะ ซุปเปอร์ ทาวเวอร์ แอท เดอะ แกรนด์ พระราม 9 ออกแบบโดยบริษัท สถาปนิก 49 จำกัด (A49) โดยมีบริษัท สกิดมอร์, โอวิงส์ และเมอร์ริล ที่เป็นผู้ออกแบบอาคารวิลลิสทาวเวอร์ วันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ และบุรจญ์เคาะลีฟะฮ์ เป็นที่ปรึกษาโครงการ ตัวอาคารใช้แนวคิดอนุรักษ์พลังงาน ตามมาตรฐาน LEED ตัวอาคารมีกระจกฉนวนกันความร้อนหุ้มภายนอก ส่วนภายในมีระบบส่งจ่ายอากาศแบบ VAV นอกจากนี้ตัวอาคารยังสามารถรองรับแรงแผ่นดินไหวและมีระบบแจ้งเหตุฉุกเฉินอีกด้วย[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น