ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะผู้นำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 46: บรรทัด 46:
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Leadership|ความเป็นผู้นำ}}
{{วิกิตำรา}}
{{commonscat|Leadership|ภาวะผู้นำ}}


[[หมวดหมู่:ภาวะผู้นำ| ]]
[[หมวดหมู่:ภาวะผู้นำ| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:30, 6 ตุลาคม 2560

กษัตริย์ดาวิดและกษัตริย์ซาโลมอน บนหน้าต่างงานกระจกสีมหาวิหารสทราซบูร์

ภาวะผู้นำ หรือ ความเป็นผู้นำ เป็นทั้งพื้นที่การวิจัยและทักษะการปฏิบัติที่ครอบคลุมถึงความสามารถของแต่ละบุคคลหรือองค์กร เพื่อ "นำ" หรือแนะนำบุคคลอื่น, ทีม หรือทั้งองค์กร ซึ่งมีข้อโต้แย้งของมุมมองต่าง ๆ จากการเปรียบเทียบความเป็นผู้นำของตะวันออกและตะวันตก ตลอดจนวิธีการของสหรัฐ (ในตะวันตก) กับยุโรป โดยทางวิชาการของสหรัฐนิยามความเป็นผู้นำว่า "กระบวนการของอิทธิพลทางสังคม ที่บุคคลหนึ่งสามารถขอความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากผู้อื่นสู่ความสำเร็จของภารกิจทั่วไป"[1][2] ส่วนความเป็นผู้นำจากมุมมองของยุโรปและไม่ใช่มุมมองด้านวิชาการหมายถึง ผู้นำที่สามารถขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เป้าหมายของกลุ่มเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการค้นหาพลังอำนาจส่วนบุคคลด้วย

การศึกษาภาวะผู้นำเกี่ยวกับภาวะผู้นำได้สร้างทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับลักษณะต่าง ๆ,[3] สถานการณ์ปฏิสัมพันธ์, หน้าที่, พฤติกรรม,[4] อำนาจ, วิสัยทัศน์และค่านิยม,[5] เสน่ห์ และสติปัญญา ท่ามกลางคนอื่น ๆ[2]

ดูเพิ่ม

2

อ้างอิง

หมายเหตุ

  1. Chemers, M. (1997). An integrative theory of leadership. Lawrence Erlbaum Associates, Publishers. ISBN 978-0-8058-2679-1.
  2. 2.0 2.1 Chin, Roger (2015). "Examining teamwork and leadership in the fields of public administration, leadership, and management". Team Performance Management. 21 (3/4): 199. doi:10.1108/TPM-07-2014-0037.
  3. Locke et al. 1991
  4. Goldsmith Marshall, "Leaders Make Values Visible", 2016
  5. Richards & Engle, 1986, p. 206

หนังสือ

  • Blake, R.; Mouton, J. (1964). The Managerial Grid: The Key to Leadership Excellence. Houston: Gulf Publishing Co.
  • Carlyle, Thomas (1841). On Heroes, Hero-Worship, and the Heroic History. Boston: Houghton Mifflin. ISBN 1-4069-4419-X.
  • Fiedler, Fred E. (1967). A theory of leadership effectiveness. McGraw-Hill: Harper and Row Publishers Inc.
  • Heifetz, Ronald (1994). Leadership without Easy Answers. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press. ISBN 0-674-51858-6.
  • Hemphill, John K. (1949). Situational Factors in Leadership. Columbus: Ohio State University Bureau of Educational Research.
  • Hersey, Paul; Blanchard, Ken; Johnson, D. (2008). Management of Organizational Behavior: Leading Human Resources (9th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education. ISBN 0-13-017598-6.
  • Miner, J. B. (2005). Organizational Behavior: Behavior 1: Essential Theories of Motivation and Leadership. Armonk: M. E. Sharpe.
  • Spencer, Herbert (1841). The Study of Sociology. New York: D. A. Appleton. ISBN 0-314-71117-1.
  • Tittemore, James A. (2003). Leadership at all Levels. Canada: Boskwa Publishing. ISBN 0-9732914-0-0.
  • Vroom, Victor H.; Yetton, Phillip W. (1973). Leadership and Decision-Making. Pittsburgh: University of Pittsburgh Press. ISBN 0-8229-3266-0.
  • Vroom, Victor H.; Jago, Arthur G. (1988). The New Leadership: Managing Participation in Organizations. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. ISBN 0-13-615030-6.
  • Van Wormer, Katherine S.; Besthorn, Fred H.; Keefe, Thomas (2007). Human Behavior and the Social Environment: Macro Level: Groups, Communities, and Organizations. US: Oxford University Press. ISBN 0-19-518754-7.
  • Montana, Patrick J.; Bruce H. (2008). Management. Hauppauge, New York: Barron's Educational Series, Inc. ISBN 0-944740-04-9.
  • Schultz, Duane P. Schultz, Sydney Ellen (2010). Psychology and work today : an introduction to industrial and organizational psychology (10th ed.). Upper Saddle River, N.J.: Prentice Hall. p. 171. ISBN 978-0205683581.

บทความวารสาร

แหล่งข้อมูลอื่น