ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nattakit415 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ''' (National university) หรือที่เรียกว่า "มหาวิทยาลัยนอกระบบ" คือ [[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]] ที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา
'''สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ''' (National university) หรือที่เรียกว่า "มหาวิทยาลัยนอกระบบ" คือ[[มหาวิทยาลัยรัฐ|สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]]ที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (Autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
แนวความคิดที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น มีมาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2507]] ซึ่งผู้บริหารและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้ยื่นหลักการต่อ [[จอมพลถนอม กิตติขจร]] นายกรัฐมนตรี ซึ่งก็ไม่ได้รับการเห็นชอบ เพียงแต่ได้มีการจัดตั้ง "[[ทบวงมหาวิทยาลัย]]" ขึ้น เพื่อดูแลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แทน "[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]" ดังนั้น ในยุคนี้ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้ย้ายไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จากเดิมที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงอยู่ภายใต้กฎหมายระเบียบของระบบราชการเช่นเดิม ซึ่งทำให้ขาดความคล่องตัวในการดำเนินงาน จึงได้มีความพยายามที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบราชการเรื่อยมา <ref>[http://www.culi.chula.ac.th/tic/out.html มหาวิทยาลัยออกนอกระบบ คืออะไร : ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล]</ref>
แนวความคิดที่จะนำ[[มหาวิทยาลัย]]ออกนอกระบบนั้นมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2507 ซึ่งผู้บริหารและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้ยื่นหลักการต่อ[[ถนอม กิตติขจร|จอมพล ถนอม กิตติขจร]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ซึ่งก็ไม่ได้รับการเห็นชอบ เพียงแต่ได้มีการจัดตั้ง "ทบวงมหาวิทยาลัย" (ปัจจุบันคือ [[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)|สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] หรือ สกอ.) ขึ้น เพื่อดูแลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แทน[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]] ดังนั้นในยุคนี้ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้ย้ายไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จากเดิมที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงอยู่ภายใต้กฎหมายระเบียบของระบบราชการเช่นเดิม ซึ่งทำให้ขาดความคล่องตัวในการดำเนินงาน จึงได้มีความพยายามที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบราชการเรื่อยมา<ref>[https://thaipublica.org/2012/10/autonomous-university1/ มหาวิทยาลัยนอกระบบ(1): จุดเริ่มต้นสู่ปัจจุบัน?], ThaiPublica ไทยพับลิก้า: กล้าพูดความจริง</ref>
และในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]] นโยบายการออกนอกระบบก็ได้เป็นข้อตกลงหนึ่งที่ผูกพันกับสัญญาการกู้ยืมเงินกับ [[ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)
]] โดยมุ่งหมายของรัฐบาลเพื่อลดงบประมาณในส่วนราชการที่สามารถเลี้ยงตนเองและบริหารงบ?ประมาณเองได้ ในช่วงปี [[พ.ศ. 2542]] เริ่มมีการเสนอให้มหาวิทยาลัย หรือคณะฯ ที่ตั้งขึ้นใหม่ "ออกนอกระบบ" ราชการ และมีการหยุดรับ[[ข้าราชการพลเรือน]]เข้ามาใน[[มหาวิทยาลัยรัฐ]]เดิมทั้งหมด ตำแหน่งที่บรรจุเข้ามาใหม่ เรียกว่า "[[พนักงานมหาวิทยาลัย]]" ซึ่งมีกรอบเงินเดือนและสวัสดิการแตกต่างจากข้าราชการพลเรือนเดิม และหากผู้ที่เกษียณราชการไปให้ตำแหน่งและเงินเดือนนั้นเปลี่ยนเป็นตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัยในตำแหน่งเริ่มบรรจุใหม่เท่านั้น


และในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ. 2541 นโยบายการออกนอกระบบก็ได้เป็นข้อตกลงหนึ่งที่ผูกพันกับสัญญาการกู้ยืมเงินกับ[[ธนาคารพัฒนาเอเชีย]] โดย[[รัฐบาลไทย|รัฐบาล]]มุ่งหมายลดงบประมาณในส่วนราชการให้สามารถเลี้ยงตนเองและบริหารงบประมาณเองได้ ในช่วงปี พ.ศ. 2542 เริ่มมีการเสนอให้มหาวิทยาลัยหรือ[[คณะวิชา]]ที่ตั้งขึ้นใหม่ "ออกนอกระบบ" ราชการ และมีการหยุดรับ[[ข้าราชการพลเรือนสามัญ|ข้าราชการ]]เข้ามาใน[[มหาวิทยาลัยรัฐ]]เดิมทั้งหมด ตำแหน่งที่บรรจุเข้ามาใหม่ เรียกว่า "[[พนักงานมหาวิทยาลัยไทย|พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา]]" ซึ่งมีกรอบเงินเดือนและสวัสดิการแตกต่างจากข้าราชการเดิม และหากผู้ที่เกษียณราชการไปให้ตำแหน่งและเงินเดือนนั้นเปลี่ยนเป็นตำแหน่งพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาในตำแหน่งเริ่มบรรจุใหม่เท่านั้น
เริ่มมีความพยายามนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบอีกครั้งตั้งแต่รัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] แต่มีการคัดค้าน ดังนั้น จึงยังไม่มีการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบในช่วงนี้ ต่อมาในสมัยรัฐบาล [[สุรยุทธ์ จุลานนท์|พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์]] โดย ศ.ดร.[[วิจิตร ศรีสอ้าน]] รัฐมนตรีศึกษาธิการ ก็ได้เสนอ ครม.และ สนช. ให้ผ่านร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของแต่ละมหาวิทยาลัยอีกครั้ง

ในรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] เริ่มมีความพยายามนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบอีกครั้งแต่มีการคัดค้าน ดังนั้นจึงยังไม่มีการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบในช่วงนี้ ต่อมาในสมัยรัฐบาล[[สุรยุทธ์ จุลานนท์|พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์]] โดย[[วิจิตร ศรีสอ้าน|ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] ก็ได้เสนอ[[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]]และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้ผ่านร่าง[[พระราชบัญญัติ]]มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของแต่ละมหาวิทยาลัยอีกครั้ง


== รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ==
== รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ==
ในประเทศไทยมีสถาบันอุดมศึกษา ในกำกับ 24 แห่ง ที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบราชการหรือไม่อยู่ในสายการบังคับบัญชาของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] โดยในจำนวนนี้มี 7 แห่งที่เป็นสถาบันในกำกับของรัฐตั้งแต่ก่อตั้ง ส่วนที่เหลือนั้นเป็นสถาบันในกำกับของรัฐโดยการแปรสภาพด้วยผลของกฎหมาย ทั้งนี้มีเฉพาะ[[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]]แห่งเดียวที่อยู่ในกำกับของ[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเป็น[[ราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย)|ราชการส่วนท้องถิ่น]] ขณะที่สถาบันอุดมศึกษาอื่นจะอยู่ในกำกับของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็น[[ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)|ราชการส่วนกลาง]]
ใน[[ประเทศไทย]]มีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ 24 แห่งที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบราชการหรือไม่อยู่ในสายการบังคับบัญชาของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)|สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] โดยในจำนวนนี้มี 7 แห่งที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐตั้งแต่ก่อตั้ง ส่วนที่เหลือนั้นเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐโดยการแปรสภาพด้วยผลของกฎหมาย ทั้งนี้มีเฉพาะ[[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]]แห่งเดียวที่อยู่ในกำกับของ[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเป็น[[ราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย)|ราชการส่วนท้องถิ่น]] ขณะที่สถาบันอุดมศึกษาอื่นจะอยู่ในกำกับของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] ซึ่งเป็น[[ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)|ราชการส่วนกลาง]]


{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|-
|-
! ลำดับที่ !! ชื่อมหาวิทยาลัย !! วันที่มีผลบังคับ !! ออกนอกระบบตั้งแต่ก่อตั้ง !! อ้างอิง
! ลำดับที่ !! ชื่อสถาบันอุดมศึกษา !! วันที่มีผลบังคับ !! ออกนอกระบบตั้งแต่ก่อตั้ง !! อ้างอิง
|-
|-
| 1 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] || 30 กรกฎาคม 2533 || {{yes}} || <ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_01.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. ๒๕๓๓</ref>
| 1 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] || 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/A/131/93.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. ๒๕๓๓], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๑๓๑ ฉบับพิเศษ หน้า ๙๓ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓</ref>
|-
|-
| 2 || [[มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์]] || 8 เมษายน 2535 || {{yes}} || <ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_02.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕</ref>
| 2 || [[มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์]] || 8 เมษายน พ.ศ. 2535 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/040/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๔๐ หน้า ๑ ๗ เมษายน ๒๕๓๕</ref>
|-
|-
| 3 || [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] || 2 ตุลาคม 2540 || ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_03.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๔๐</ref>
| 3 || [[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] || 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/051/24.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก หน้า ๒๔ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐</ref>
|-
|-
| 4 || [[มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย]] || 2 ตุลาคม 2540 || ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_04.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ๒๕๔๐</ref>
| 4 || [[มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย]] || 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/051/4.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก หน้า ๔ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐</ref>
|-
|-
| 5 || [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] || 26 กันยายน 2541 || {{yes}} ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_06.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ๒๕๔๑</ref>
| 5 || [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] || 26 กันยายน พ.ศ. 2541 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/065/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. ๒๕๔๑], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๖๕ ก หน้า ๑ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑</ref>
|-
|-
| 6 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] || 7 มีนาคม 2541 || ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_05.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๒๕๔๑</ref>
| 6 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] || 7 มีนาคม พ.ศ. 2541 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/A/011/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. ๒๕๔๑], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๑ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑</ref>
|-
|-
| 7 || [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] || 17 ตุลาคม 2550 || ||<ref>http://www.mahidol.ac.th/muthai/autonomy/data/prb_171050.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๕๐</ref>
| 7 || [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] || 17 ตุลาคม พ.ศ. 2550 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/068/4.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๕๐], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หน้า ๔ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐</ref>
|-
|-
| 8 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]] || 27 ธันวาคม 2550 || ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_08.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ๒๕๕๐</ref>
| 8 || [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]] || 27 ธันวาคม พ.ศ. 2550 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/098/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๐], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๙๘ ก หน้า ๑ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๐</ref>
|-
|-
| 9 || [[มหาวิทยาลัยบูรพา]] || 10 มกราคม 2551 || ||<ref>http://council.buu.ac.th/pdf/Buu.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา ๒๕๕๐</ref>
| 9 || [[มหาวิทยาลัยบูรพา]] || 10 มกราคม พ.ศ. 2551 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/005/8.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๕ ก หน้า ๘ ๙ มกราคม ๒๕๕๑</ref>
|-
|-
| 10 || [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]] || 6 กุมภาพันธ์ 2551 || ||<ref> http://www.tsu.ac.th/form/files_c/020942200842.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณ ๒๕๕๑</ref>
| 10 || [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]] || 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/028/47.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. ๒๕๕๑], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๘ ก หน้า ๔๗ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑</ref>
|-
|-
| 11 || [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] || 7 กุมภาพันธ์ 2551 || ||<ref> http://www.chula.ac.th/idcucm1/groups/glegis/documents/cu_chulaact2551/cu2551.pdf พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๕๑</ref>
| 11 || [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] || 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/029/56.PDF พระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หน้า ๕๖ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑</ref>
|-
|-
| 12 || [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] || 7 มีนาคม 2551 || ||<ref>http://legal.tu.ac.th/tu_51/tu_control/pdf/2551%20%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A.%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88.pdf พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๕๕๑</ref>
| 12 || [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] || 7 มีนาคม พ.ศ. 2551 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/044/28.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๒๘ ๖ มีนาคม ๒๕๕๑</ref>
|-
|-
| 13 || [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] || 8 มีนาคม 2551 || ||<ref>http://www.op.mahidol.ac.th/orla/oldversion/in_tra_net/data/prb_13.pdf พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ๒๕๕๑</ref>
| 13 || [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] || 8 มีนาคม พ.ศ. 2551 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/A/045/95.PDF พระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ๒๕๕๑], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๕ ก หน้า ๙๕ ๗ มีนาคม ๒๕๕๑</ref>
|-
|-
| 14 || [[มหาวิทยาลัยพะเยา]] || 17 กรกฎาคม 2553 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/044/4.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา 2553]</ref>
| 14 || [[มหาวิทยาลัยพะเยา]] || 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/044/4.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. ๒๕๕๓], ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๔ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๓</ref>
|-
|-
| 15 || [[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]] || 13 พฤศจิกายน 2553 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/069/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร 2553]</ref>
| 15 || [[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]] <br /> <small>(เดิมชื่อ '''''มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร''''')</small> || 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/069/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๓], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๖๙ ก หน้า ๑ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓</ref>
|-
|-
| 16 || [[สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา]] || 26 พฤษภาคม 2555 || {{yes}} || <ref>[http://www.library.coj.go.th/info/data/Z69-01-001.PDF พระราชบัญญัติสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา 2555]</ref>
| 16 || [[สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา]] || 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/A/045/1.PDF พระราชบัญญัติ สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา พ.ศ. ๒๕๕๕], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๔๕ ก หน้า ๑ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕</ref>
|-
|-
| 17 || [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] || 18 กรกฎาคม 2558 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๕๕๘]</ref>
| 17 || [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] || 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๑ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘</ref>
|-
|-
| 18 || [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] || 18 กรกฎาคม 2558 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/25.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๕๘]</ref>
| 18 || [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] || 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/25.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๒๕ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘</ref>
|-
|-
| 19 || [[มหาวิทยาลัยสวนดุสิต]] || 18 กรกฎาคม 2558 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/78.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ๒๕๕๘]</ref>
| 19 || [[มหาวิทยาลัยสวนดุสิต]] <br /> <small>(เดิมคือ '''''มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต''''')</small> || 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/78.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๕๘], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๗๘ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘</ref>
|-
|-
| 20 || [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] || 16 สิงหาคม 2558 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/49.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๕๘] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา<!-- ต้องนับวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นวันแรก และวันที่ครบกำหนด ตาม http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id=1451--> </ref>
| 20 || [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] || 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/49.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ หน้า ๔๙ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘</ref>
|-
|-
| 21 || [[ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์]] || 18 เมษายน 2559 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/007/1.PDF พระราชบัญญัติราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ๒๕๕๙] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 90 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
| 21 || [[ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์]] || 18 เมษายน พ.ศ. 2559 || {{yes}} || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/007/1.PDF พระราชบัญญัติ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๗ ก หน้า ๑ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙</ref>
|-
|-
| 22 || [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] || 21 พฤษภาคม 2559 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/033/10.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ๒๕๕๙] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
| 22 || [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] || 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/033/10.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๓๓ ก หน้า ๑๐ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๙</ref>
|-
|-
| 23 || [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] || 3 กรกฎาคม 2559 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/049/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๕๙] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
| 23 || [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] || 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/049/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๑ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๙</ref>
|-
|-
| 24 || [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] || 21 กรกฎาคม 2559 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/053/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๒๕๕๙] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
| 24 || [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] || 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/053/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๕๓ ก หน้า ๑ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙</ref>
|-
|-
| 25 || [[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]] || 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/039/1.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. ๒๕๖๐], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑ ๕ เมษายน ๒๕๖๐</ref>
|25
|[[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]]
|6 พฤษภาคม 2560|| ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/039/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๒๕๖๐] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
|-
|-
| 26 || [[วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย|สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย]] <br/><small>(ยกฐานะจากวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย)</small> || 25 พฤษภาคม 2560 || ||<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/109/3.PDF] มีผลเมื่อพ้นกำหนด 180 วันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา</ref>
| 26 || [[สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย]] <br /> <small>(ยกฐานะจาก '''''วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย''''')</small> || 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 || || <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/109/3.PDF พระราชบัญญัติ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๐๙ ก หน้า ๓ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๙</ref>
|}
|}


== สถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในขั้นตอนการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ ==
== สถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในขั้นตอนการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ ==
สถาบันอุดมศึกษาที่มีร่างพระราชบัญญัติของสถาบันอยู่ในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
สถาบันอุดมศึกษาที่มีร่างพระราชบัญญัติของสถาบันอยู่ในขั้นตอนต่าง ดังนี้

{|class="wikitable"
{|class="wikitable"
|-
|-
! ร่างพระราชบัญญัติ || อยู่ระหว่างการพิจารณาของ[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]] ||[[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]]รับหลักการแล้ว|| อยู่ระหว่างเสนอคณะรัฐมนตรี|| อยู่ระหว่างการพิจารณาของมหาวิทยาลัย || [[สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา]]
! ร่างพระราชบัญญัติ || อยู่ระหว่างการพิจารณาของ[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]] || [[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]]รับหลักการแล้ว || อยู่ระหว่างเสนอ[[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]] || อยู่ระหว่างการพิจารณาของมหาวิทยาลัย || สำนักงาน[[คณะกรรมการกฤษฎีกา]]
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา|มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}}<ref> [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1426581579]</ref> ||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}}<ref> [http://www.stou.ac.th/autonomous/page/Showdata.aspx?PageId=50003&Datatype=1]</ref> ||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}}<ref>[http://www.stou.ac.th/autonomous/page/Showdata.aspx?PageId=50003&Datatype=1 ร่าง พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. ...], มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสู่มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ</ref> ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[สถาบันพระบรมราชชนก]] พ.ศ. ... || || || {{อยู่}}<ref> [http://www.lawamendment.go.th/index.php/component/k2/item/64-topic_64]</ref> || ||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[สถาบันพระบรมราชชนก]] พ.ศ. ... || || || {{อยู่}}<ref>[http://www.lawamendment.go.th/index.php/component/k2/item/64-topic_64 พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก], Lawamendment การรับฟังความคิดเห็นกฎหมายไทย</ref> || ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] พ.ศ. ... || || | || {{อยู่}} || ||
<!-- ไม่มีแหล่งอ้างอิง
|[http://www.facsenate.general.mju.ac.th/goverment/20111119104835_2011_general_facsenate/Doc_25580326141742_843814.pdf ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. ......]
|
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}}||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
| ร่างพระราชบัญญัติ [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] พ.ศ. ... || || || || {{อยู่}} ||
|-
|-
| ร่างพระราชบัญญัติ[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] พ.ศ. ... || || || || || {{อยู่}}
| ร่างพระราชบัญญัติ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] พ.ศ. ... || || || || || {{อยู่}}
-->
|}
|}


== การวิพากษ์วิจารณ์ ==
== การวิพากษ์วิจารณ์ ==
การนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น เป็นประเด็นขัดแย้ง มีการล่ารายชื่อคัดค้าน<ref>[http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9500000138408
การนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น เป็นประเด็นขัดแย้ง มีการล่ารายชื่อคัดค้าน <ref>ผู้จัดการรายวัน [http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9500000138408 “คุณหญิงจารุวรรณ” นำทัพค้านจุฬาฯ ออกนอกระบบ]21 พฤศจิกายน 2550 22:56 น</ref>, <ref>หนังสือพิมพ์ข่าวสดรายวัน[http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TUROd01EVXhNVEU0TVRJMU1BPT0=&sectionid=TURNek5RPT0=&day=TWpBd055MHhNaTB4T0E9PQ== ประชาคมจุฬาฯ-กราบทูลพระเทพฯ]วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 17 ฉบับที่ 6228 </ref>จนกระทั่งวาระสุดท้ายของการพิจารณาใน สนช. โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่กรรมการ[[สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]<ref>ข่าวสภาคณาจารย์ เรื่องการออกนอกระบบ [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/XBgZ4LjWed12206.pdf ฉบับที่ 14], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/e7bPOCRFri101032.pdf ฉบับที่ 16], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/LFShILfMon12631.pdf สำเนาหนังสือฯ], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/jbmNQHLThu113912.pdf ฉบับที่ 17], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/2B9VwmVWed25035.pdf ฉบับที่ 18], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/dHMpOzbWed25059.pdf ฉบับที่ 19], [http://www.senate.chula.ac.th/news_sarnsapa/FRmdS9TThu121800.pdf แถลงการณ์จากสภามหาวิทยาลัยฯ]</ref> ร่วมกับ ผศ.นพ.[[ตุลย์ สิทธิสมวงศ์]] ในฐานะกรรมาธิการพิจารณาร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คัดค้าน สนช. ในการผ่านร่าง พ.ร.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ....อย่างเร่งรีบโดยไม่ฟังเสียงประชาคมจุฬาฯ <ref>หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. [http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=148557&NewsType=1&Template=1 ประชาคมจุฬาฯยื่น สนช.ค้านออกนอกระบบ.] วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2550</ref>, <ref>บทบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์แทบลอยด์ [http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=17/Dec/2549&news_id=134972&cat_id=220100 เรื่องปก 'ถอนร่างออก' นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์] 17 ธันวาคม 2549</ref>, <ref>ณศักต์ อัจจิมาธร, หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์. [http://www.posttoday.com/newsdet.php?sec=news&id=209251 ผ่าความคิด 'นพ. ตุลย์ สิทธิสมวงศ์' หัวหอกต้าน 'จุฬาฯ' ออกนอกระบบ]วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2550</ref> นอกจากนี้ยังเกิดการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งนักวิชาการ นักการศึกษา รวมถึงนิสิต นักศึกษา ประชาชนโดยทั่วไป โดยประเด็นที่วิพากษ์วิจารณ์นั้นจะวิเคราะห์ถึงข้อดี ข้อเสียของการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ<ref> เอกสารเผยแพร่ ม.นอกระบบ โดย สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย</ref> ดังนี้
"คุณหญิงจารุวรรณ"นำทัพค้านจุฬาฯ ออกนอกระบบ], Manager Online - ผู้จัดการออนไลน์ ข่าวด่วนทันเหตุการณ์</ref> จนกระทั่งวาระสุดท้ายของการพิจารณาในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ที่กรรมการ[[สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ร่วมกับ[[ตุลย์ สิทธิสมวงศ์|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ตุลย์ สิทธิสมวงศ์]] ในฐานะกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คัดค้านสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการผ่านร่างพระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ... อย่างเร่งรีบโดยไม่ฟังเสียงประชาคมจุฬาฯ นอกจากนี้ยังเกิดการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งนักวิชาการ นักการศึกษา รวมถึงนิสิต นักศึกษา ประชาชนโดยทั่วไป โดยประเด็นที่วิพากษ์วิจารณ์นั้นจะวิเคราะห์ถึงข้อดีและข้อเสียของการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ<ref>เอกสารเผยแพร่ ม.นอกระบบ โดย สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย</ref>


=== ข้อดี ===
=== ข้อดี ===
บรรทัด 110: บรรทัด 105:
* นักการเมืองมีบทบาทในมหาวิทยาลัยมากขึ้น เนื่องจากงบประมาณส่วนหนึ่งยังต้องขอรับการจัดสรรจากรัฐบาล
* นักการเมืองมีบทบาทในมหาวิทยาลัยมากขึ้น เนื่องจากงบประมาณส่วนหนึ่งยังต้องขอรับการจัดสรรจากรัฐบาล
* ค่าเล่าเรียนอาจเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นการตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อยทางอ้อม
* ค่าเล่าเรียนอาจเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นการตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อยทางอ้อม
* คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิดสอน อาจจะต้องปิดตัวลง
* คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิดสอนอาจจะต้องปิดตัวลง
* การบริหารงานของฝ่ายบริหารอาจจะไม่โปร่งใส ตรวจสอบได้ยาก
* การบริหารงานของฝ่ายบริหารอาจจะไม่โปร่งใส ตรวจสอบได้ยาก
* เนื้อหาของร่าง พรบ. มีลักษณะเป็นกฎหมายบริหารจัดการ'''ทรัพย์สินที่ดิน''' ไม่ได้เป็นการบริหารจัดการ'''การศึกษา'''แต่อย่างใด <ref>ผู้จัดการ Online[http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9500000150656 สนช.มีมติเอกฉันท์ให้ จุฬาฯ-ลาดกระบัง-เชียงใหม่” ออกนอกระบบ]19 ธันวาคม 2550 18:15 น.</ref>
* เนื้อหาขอร่างพระราชบัญญัติมีลักษณะเป็นกฎหมายบริหารจัดการ "ทรัพย์สินที่ดิน" ไม่ได้เป็นการบริหารจัดการ "การศึกษา" แต่อย่างใด<ref>[http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9500000150656 สนช.มีมติเอกฉันท์ให้ "จุฬาฯ-ลาดกระบัง-เชียงใหม่" ออกนอกระบบ], Manager Online - ผู้จัดการออนไลน์ ข่าวด่วนทันเหตุการณ์</ref>

== ดูเพิ่ม ==
* [[พนักงานมหาวิทยาลัย]]
* [[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]]
* [[สถาบันอุดมศึกษาเอกชน]]
* [[รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย]]
* [[กระทรวงในประเทศไทย]]
* [[รัฐวิสาหกิจไทย]]
** [[รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย]]
* [[องค์การมหาชน]]
** [[รายชื่อองค์การมหาชน]]
* [[หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (ประเทศไทย)]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{รายการอ้างอิง|2}}
</div>

== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิทยาลัยรัฐ]]
* [[รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย]]
* [[รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา]]


[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ| ]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:03, 2 ตุลาคม 2560

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (National university) หรือที่เรียกว่า "มหาวิทยาลัยนอกระบบ" คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (Autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา

ประวัติ

แนวความคิดที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้นมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2507 ซึ่งผู้บริหารและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้ยื่นหลักการต่อจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ซึ่งก็ไม่ได้รับการเห็นชอบ เพียงแต่ได้มีการจัดตั้ง "ทบวงมหาวิทยาลัย" (ปัจจุบันคือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ.) ขึ้น เพื่อดูแลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แทนสำนักนายกรัฐมนตรี ดังนั้นในยุคนี้ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้ย้ายไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จากเดิมที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงอยู่ภายใต้กฎหมายระเบียบของระบบราชการเช่นเดิม ซึ่งทำให้ขาดความคล่องตัวในการดำเนินงาน จึงได้มีความพยายามที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบราชการเรื่อยมา[1]

และในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ. 2541 นโยบายการออกนอกระบบก็ได้เป็นข้อตกลงหนึ่งที่ผูกพันกับสัญญาการกู้ยืมเงินกับธนาคารพัฒนาเอเชีย โดยรัฐบาลมุ่งหมายลดงบประมาณในส่วนราชการให้สามารถเลี้ยงตนเองและบริหารงบประมาณเองได้ ในช่วงปี พ.ศ. 2542 เริ่มมีการเสนอให้มหาวิทยาลัยหรือคณะวิชาที่ตั้งขึ้นใหม่ "ออกนอกระบบ" ราชการ และมีการหยุดรับข้าราชการเข้ามาในมหาวิทยาลัยรัฐเดิมทั้งหมด ตำแหน่งที่บรรจุเข้ามาใหม่ เรียกว่า "พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา" ซึ่งมีกรอบเงินเดือนและสวัสดิการแตกต่างจากข้าราชการเดิม และหากผู้ที่เกษียณราชการไปให้ตำแหน่งและเงินเดือนนั้นเปลี่ยนเป็นตำแหน่งพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาในตำแหน่งเริ่มบรรจุใหม่เท่านั้น

ในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร เริ่มมีความพยายามนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบอีกครั้งแต่มีการคัดค้าน ดังนั้นจึงยังไม่มีการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบในช่วงนี้ ต่อมาในสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ โดยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก็ได้เสนอคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของแต่ละมหาวิทยาลัยอีกครั้ง

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ในประเทศไทยมีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ 24 แห่งที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบราชการหรือไม่อยู่ในสายการบังคับบัญชาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยในจำนวนนี้มี 7 แห่งที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐตั้งแต่ก่อตั้ง ส่วนที่เหลือนั้นเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐโดยการแปรสภาพด้วยผลของกฎหมาย ทั้งนี้มีเฉพาะมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชแห่งเดียวที่อยู่ในกำกับของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นราชการส่วนท้องถิ่น ขณะที่สถาบันอุดมศึกษาอื่นจะอยู่ในกำกับของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นราชการส่วนกลาง

ลำดับที่ ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วันที่มีผลบังคับ ออกนอกระบบตั้งแต่ก่อตั้ง อ้างอิง
1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ใช่ [2]
2 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 8 เมษายน พ.ศ. 2535 ใช่ [3]
3 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 [4]
4 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 [5]
5 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 26 กันยายน พ.ศ. 2541 ใช่ [6]
6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7 มีนาคม พ.ศ. 2541 [7]
7 มหาวิทยาลัยมหิดล 17 ตุลาคม พ.ศ. 2550 [8]
8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2550 [9]
9 มหาวิทยาลัยบูรพา 10 มกราคม พ.ศ. 2551 [10]
10 มหาวิทยาลัยทักษิณ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 [11]
11 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 [12]
12 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2551 [13]
13 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8 มีนาคม พ.ศ. 2551 [14]
14 มหาวิทยาลัยพะเยา 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ใช่ [15]
15 มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
(เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร)
13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ใช่ [16]
16 สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ใช่ [17]
17 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 [18]
18 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 [19]
19 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
(เดิมคือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต)
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 [20]
20 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 [21]
21 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 18 เมษายน พ.ศ. 2559 ใช่ [22]
22 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 [23]
23 มหาวิทยาลัยศิลปากร 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 [24]
24 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 [25]
25 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 [26]
26 สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
(ยกฐานะจาก วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย)
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 [27]

สถาบันอุดมศึกษาที่อยู่ในขั้นตอนการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ

สถาบันอุดมศึกษาที่มีร่างพระราชบัญญัติของสถาบันอยู่ในขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้

ร่างพระราชบัญญัติ อยู่ระหว่างการพิจารณาของรัฐสภา คณะรัฐมนตรีรับหลักการแล้ว อยู่ระหว่างเสนอคณะรัฐมนตรี อยู่ระหว่างการพิจารณาของมหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ. ...  
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. ...  [28]
ร่างพระราชบัญญัติ สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ...  [29]
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. ...  
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ...  
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. ...  
ร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ...  
ร่างพระราชบัญญัติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. ...  

การวิพากษ์วิจารณ์

การนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น เป็นประเด็นขัดแย้ง มีการล่ารายชื่อคัดค้าน[30] จนกระทั่งวาระสุดท้ายของการพิจารณาในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่กรรมการสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ ในฐานะกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คัดค้านสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการผ่านร่างพระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ... อย่างเร่งรีบโดยไม่ฟังเสียงประชาคมจุฬาฯ นอกจากนี้ยังเกิดการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งนักวิชาการ นักการศึกษา รวมถึงนิสิต นักศึกษา ประชาชนโดยทั่วไป โดยประเด็นที่วิพากษ์วิจารณ์นั้นจะวิเคราะห์ถึงข้อดีและข้อเสียของการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ[31]

ข้อดี

  • เพื่อเกิดความคล่องตัวในการบริหารมหาวิทยาลัยมากขึ้น
  • เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล
  • มหาวิทยาลัยสามารถเปิดหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้
  • สวัสดิการของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทียบเท่าเอกชน

ข้อเสีย

  • นักการเมืองมีบทบาทในมหาวิทยาลัยมากขึ้น เนื่องจากงบประมาณส่วนหนึ่งยังต้องขอรับการจัดสรรจากรัฐบาล
  • ค่าเล่าเรียนอาจเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นการตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อยทางอ้อม
  • คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิดสอนอาจจะต้องปิดตัวลง
  • การบริหารงานของฝ่ายบริหารอาจจะไม่โปร่งใส ตรวจสอบได้ยาก
  • เนื้อหาขอร่างพระราชบัญญัติมีลักษณะเป็นกฎหมายบริหารจัดการ "ทรัพย์สินที่ดิน" ไม่ได้เป็นการบริหารจัดการ "การศึกษา" แต่อย่างใด[32]

อ้างอิง

  1. มหาวิทยาลัยนอกระบบ(1): จุดเริ่มต้นสู่ปัจจุบัน?, ThaiPublica ไทยพับลิก้า: กล้าพูดความจริง
  2. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. ๒๕๓๓, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๑๓๑ ฉบับพิเศษ หน้า ๙๓ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓
  3. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๔๐ หน้า ๑ ๗ เมษายน ๒๕๓๕
  4. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก หน้า ๒๔ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐
  5. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก หน้า ๔ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐
  6. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. ๒๕๔๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๖๕ ก หน้า ๑ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  7. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. ๒๕๔๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๑ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  8. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๕๐, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หน้า ๔ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
  9. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๐, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๙๘ ก หน้า ๑ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๐
  10. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๕ ก หน้า ๘ ๙ มกราคม ๒๕๕๑
  11. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๘ ก หน้า ๔๗ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
  12. พระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๙ ก หน้า ๕๖ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
  13. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๒๘ ๖ มีนาคม ๒๕๕๑
  14. พระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๕ ก หน้า ๙๕ ๗ มีนาคม ๒๕๕๑
  15. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. ๒๕๕๓, ราชกิจจานุเบกษา ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๔ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๓
  16. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๓, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๖๙ ก หน้า ๑ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
  17. พระราชบัญญัติ สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา พ.ศ. ๒๕๕๕, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๔๕ ก หน้า ๑ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕
  18. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๑ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘
  19. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๒๕ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘
  20. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๕๘, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๗๘ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘
  21. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๔๙ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘
  22. พระราชบัญญัติ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๗ ก หน้า ๑ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙
  23. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ๒๕๕๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๓๓ ก หน้า ๑๐ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๙
  24. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๕๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๔๙ ก หน้า ๑ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๙
  25. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๕๓ ก หน้า ๑ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๙
  26. พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. ๒๕๖๐, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๓๙ ก หน้า ๑ ๕ เมษายน ๒๕๖๐
  27. พระราชบัญญัติ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๙, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๐๙ ก หน้า ๓ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๙
  28. ร่าง พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. ..., มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสู่มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
  29. พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก, Lawamendment การรับฟังความคิดเห็นกฎหมายไทย
  30. [http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9500000138408 "คุณหญิงจารุวรรณ"นำทัพค้านจุฬาฯ ออกนอกระบบ], Manager Online - ผู้จัดการออนไลน์ ข่าวด่วนทันเหตุการณ์
  31. เอกสารเผยแพร่ ม.นอกระบบ โดย สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย
  32. สนช.มีมติเอกฉันท์ให้ "จุฬาฯ-ลาดกระบัง-เชียงใหม่" ออกนอกระบบ, Manager Online - ผู้จัดการออนไลน์ ข่าวด่วนทันเหตุการณ์

ดูเพิ่ม