ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงคริสตีนาแห่งเนเธอร์แลนด์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
เจ้าหญิงครีสตินาประสูติเมื่อวันที่ [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2490]] เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กใน [[สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] และ [[เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์]] พระองค์ได้รับการบัพติศมาเมื่อวันที่ [[9 ตุลาคม]] ปีเดียวกัน โดยทรงมีพระบิดามารดาทูลหัวดังนี้
เจ้าหญิงครีสตินาประสูติเมื่อวันที่ [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2490]] เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กใน [[สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] และ [[เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์]] พระองค์ได้รับการบัพติศมาเมื่อวันที่ [[9 ตุลาคม]] ปีเดียวกัน โดยทรงมีพระบิดามารดาทูลหัวดังนี้
*[[สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] พระราชอัยยิกา(ยาย)
*[[สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมืนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] พระราชอัยยิกา(ยาย)
*เซอร์ วินตัน เบอร์นี
*เซอร์ วินตัน เบอร์นี
*อาร์มการ์ด วอน คัมมา พระปิตุลานี(อาสะใภ้)
*อาร์มการ์ด วอน คัมมา พระปิตุลานี(อาสะใภ้)
*[[เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา]]
*[[เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา]]
ในระหว่างที่พระราชมารดาทรงพระครรภ์พระองค์นั้น พระราชมารดาได้ประชวรด้วยโรค[[หัดเยอรมัน]] ทำให้พระองค์ประสูติมาด้วยพระเนตรเกือบบอด แต่ต่อมาความก้าวหน้าของแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ พระองค์ได้เข้ารับการรักษาจนพระเนตรสามารถกลับมาใช้งานได้ แต่คณะแพทย์ได้ถวายคำแนะนำให้พระองค์ต้องฉลองพระเนตร(แว่นตา) ที่คณะแพทย์จัดทำถวาย และต้องเสวยพระกระยาหารที่มีประโยชน์สม่ำเสมอ ซึ่งต่อมาพระองค์สามารถเข้าศึกษาได้ตามปกติ
ในระหว่างที่พระราชมารดาทรงพระครรภ์พระองค์นั้น พระราชมารดาได้ประชวรด้วยโรค[[หัดเยอรมัน]] ทำให้พระองค์ประสูติมาด้วยพระเนตรเกือบบอด แต่ต่อมาความก้าวหน้าของแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ พระองค์ได้เข้ารับการรักษาจนพระเนตรสามารถกลับมาใช้งานได้ แต่คณะแพทย์ได้ถวายคำแนะนำให้พระองค์ต้องฉลองพระเนตร(แว่นตา) ที่คณะแพทย์จัดทำถวาย และต้องเสวยพระกระยาหารที่มีประโยชน์สม่ำเสมอ ซึ่งต่อมาพระองค์สามารถเข้าศึกษาได้ตามปกติ

== พระเชษฐภคินี ==
== พระเชษฐภคินี ==
เจ้าหญิงคริสตีนาทรงมีพระเชษฐภคินีจำนวน 3 พระองค์ดังนี้
เจ้าหญิงคริสตีนาทรงมีพระเชษฐภคินีจำนวน 3 พระองค์ดังนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:21, 18 กันยายน 2560

เจ้าหญิงคริสตีนาแห่งเนเธอร์แลนด์
ไฟล์:Prinses-christina-okt15-s.jpg
เจ้าหญิงคริสตีนาแห่งเนเธอร์แลนด์
เจ้าหญิงแห่งเนเธอร์แลนด์
ประสูติ18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 (77 ปี)
พระสวามีคอร์เค เปเรซ อี กีเยร์โม (หย่า)
พระนามเต็ม
มาเรีย คริสตีนา
ราชวงศ์ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา
พระราชบิดาเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์
พระราชมารดาสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

เจ้าหญิงคริสตีนาแห่งเนเธอร์แลนด์ (อังกฤษ: Her Royal Highness Princess Christina of the Netherlands) เป็นหนึ่งในพระราชธิดาทั้ง 4 พระองค์ โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กของสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ กับเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์ ยังเป็นพระมาตุจฉาในพระราชโอรสทั้ง 3 ของสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์ คือ สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา เจ้าชายคอนสตันตินแห่งเนเธอร์แลนด์

พระประวัติ

เจ้าหญิงครีสตินาประสูติเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กใน สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ และ เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์ พระองค์ได้รับการบัพติศมาเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ปีเดียวกัน โดยทรงมีพระบิดามารดาทูลหัวดังนี้

ในระหว่างที่พระราชมารดาทรงพระครรภ์พระองค์นั้น พระราชมารดาได้ประชวรด้วยโรคหัดเยอรมัน ทำให้พระองค์ประสูติมาด้วยพระเนตรเกือบบอด แต่ต่อมาความก้าวหน้าของแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ พระองค์ได้เข้ารับการรักษาจนพระเนตรสามารถกลับมาใช้งานได้ แต่คณะแพทย์ได้ถวายคำแนะนำให้พระองค์ต้องฉลองพระเนตร(แว่นตา) ที่คณะแพทย์จัดทำถวาย และต้องเสวยพระกระยาหารที่มีประโยชน์สม่ำเสมอ ซึ่งต่อมาพระองค์สามารถเข้าศึกษาได้ตามปกติ

พระเชษฐภคินี

เจ้าหญิงคริสตีนาทรงมีพระเชษฐภคินีจำนวน 3 พระองค์ดังนี้

เสกสมรส

พระองค์เสกสมรสและหย่ากับ คอร์เค เปเรซ อี กีเยร์โม มีพระบุตร 3 คน ดังนี้

  • เบอร์นาโด กีเยร์โม
  • นีโคลอส กีเยร์โม
  • ยูเลียนา กีเยร์โม

พระบุตรของพระองค์ มิได้รับการสถาปนาเป็น เจ้า ดังเช่นพระบุตรใน เจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์ พระเชษฐภคินี และไม่ได้เป็น สมาชิกพระราชวงศ์ดัตช์ แต่สามารถพำนักในพระราชวังหลวงได้ และมีสิทธิในการได้รับเงินจากพระราชวังตามสิทธิในฐานะ สมาชิกราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา

แหล่งข้อมูลอื่น