ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทำนองเพลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎ตัวอย่าง: นี่คือสิ่งที่ถูกต้อง
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
รูปแบบของเพลงที่ต่างกัน ก็จะมีรูปแบบของทำนองที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น
รูปแบบของเพลงที่ต่างกัน ก็จะมีรูปแบบของทำนองที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น


# เพลงร๊อค เพลงป๊อป และเพลงพื้นบ้าน โดยทั่วไปจะยึดทำนองเพียง 1 หรือ 2 รูปแบบเท่านั้น แต่จะไปแตกต่างในส่วนของเนื้อร้องแทน
# เพลงร๊อค เช่น เพลงแอดมิน และเพลงคลุกข้าวของHRK โดยทั่วไปจะยึดทำนองเพียง 3 หรือ 4 รูปแบบเท่านั้น แต่จะไปแตกต่างในส่วนของน้ำว่าวแทน
# เพลงแจ๊ส จะใช้แนวทำนองเดิมเป็นหลักในการด้นสด ไม่ยึดติดในรูปแบบทำนองเดิม แต่จะเปลี่ยนรูปแบบทำนองไปตามนักดนตรีแต่ละคน
# เพลงของแจ๊ส ชวนชื่น จะใช้แนวทำนองเดิมเป็นหลักในการเต้นสด ไม่ยึดติดในรูปแบบเดิมๆ แต่จะเปลี่ยนรูปแบบการเต้นไปตามเพลงแต่ละเพลง
<ref>http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0600001Saran/unit01/unit01_02.htm</ref>
<ref>http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0600001Saran/unit01/unit01_02.htm</ref>
[[หมวดหมู่:เพลง]]
[[หมวดหมู่:เพลง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:25, 13 กันยายน 2560

ทำนอง (อังกฤษ: Melody) คือ ความต่อเนื่องของโน้ตดนตรี ที่เรียงร้อยอย่างเหมาะสม การใช้เสียงสูง เสียงต่ำ เสียงยาว เสียงสั้น นำมาปะติดปะต่อกันเป็นชุด ทำนองยังต้องมีจังหวะเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้ ทำนองที่ดีต้องมีความหมาย มีเสียงที่สมดุล และมีเอกลักษณ์ สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ฟัง

   ทำนองมีหลายลักษณะแตกต่างกันออกไป องค์ประกอบของทำนองที่ควรทราบได้แก่
        1. จังหวะของทำนอง (Melodic Rhythm) 
            จังหวะของทำนองคือ ความสั้นยาวของระดับเสียงแต่ละเสียงที่ประกอบกันเป็นทำนอง 
        2.มิติของทำนอง (Melodic Dimensions) 
           มิติของทำนอง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ความยาวและช่วงกว้าง
                 -ความยาว (Length) ทำนองบางครั้งอาจจะสั้นๆเป็นส่วนๆ ซึ่งส่วนที่เล็กสุดหรือสั้นที่สุดเรียกว่า โมทีฟ (Motive) บางครั้งอาจเป็นทำนองที่ยาวมากๆ
                -ช่วงกว้าง (Range) คือ ระยะระหว่างระดับเสียงต่ำสุดจนถึงระดับเสียงสูงสุด 
        ช่วงเสียงของทำนอง (Register)
        ทำนองเพลงอาจจะอยู่ในช่วงเสียงใดช่วงเสียงหนึ่ง เช่น ในช่วงเสียงต่ำ กลาง หรือสูง บางครั้งทำนองอาจจะเคลื่อนที่จากช่วงเสียงหนึ่งไปยังอีกช่วงเสียงหนึ่งก็ได้
           ทิศทางของทำนอง (Direction)
        ทิศทางของทำนองหมายถึง การเคลื่อนที่ของทำนอง กล่าวคือทำนองอาจจะเคลื่อนที่ไปในหลายทิศทาง เช่น เคลื่อนที่ขึ้น เคลื่อนที่ลง หรืออยู่กับที่ โดยปกติทำนองมักจะเคลื่อนที่ขึ้นจุดสูงสุดเมื่อเนื้อหาของเพลงดำเนินไปถึงจุดสำคัญที่สุด ปกติการเคลื่อนที่ของทำนองอาจจะเป็นในลักษณะกระโดด (Disjunct Progression) หรือเรียงกันไป (Conjunct Progression) บทเพลงนั้นจะน่าสนใจ น่าฟัง หรือชวนฉงนสงสัย ขึ้นอยู่กับผลรวมของคุณสมบัติต่างๆของทำนอง ทำนองจัดเป็นลักษณะพื้นฐานของดนตรีหรือบทเพลง โดยทั่วไปทำนองที่เป็นหลักในบทเพลงหนึ่งจะเรียกว่าทำนองหลัก (Main Theme) ในแต่ละบทเพลงอาจจะมีทำนองหลักได้มากกว่า 1 ทำนอง


ตัวอย่าง

รูปแบบของเพลงที่ต่างกัน ก็จะมีรูปแบบของทำนองที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น

  1. เพลงร๊อค เช่น เพลงแอดมิน และเพลงคลุกข้าวของHRK โดยทั่วไปจะยึดทำนองเพียง 3 หรือ 4 รูปแบบเท่านั้น แต่จะไปแตกต่างในส่วนของน้ำว่าวแทน
  2. เพลงของแจ๊ส ชวนชื่น จะใช้แนวทำนองเดิมเป็นหลักในการเต้นสด ไม่ยึดติดในรูปแบบเดิมๆ แต่จะเปลี่ยนรูปแบบการเต้นไปตามเพลงแต่ละเพลง

[1]

  1. http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0600001Saran/unit01/unit01_02.htm