ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางตารา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ขยายความ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Green Tara, Kumbm, Gyantse, Tibet, 1993.JPG|right|thumb|200px|พระนางตาราเขียวใน Kumbm, Gyantse, Tibet, 2536]]
'''พระนางตารา'''เป็น[[พระโพธิสัตว์]]ฝ่ายหญิงในพระ[[พุทธศาสนา]]แบบทิเบต คำว่าตารามาจาก[[ภาษาสันสกฤต]]หมายถึงข้าม การบูชาพระนางเริ่มเมื่อพุทธศตวรรษที่ 11 ใน[[อินเดีย]]เหนือและแพร่หลายที่สุดในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 17 โดยถือว่าเป็นชายาของ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] ปัจจุบันมีนับถือใน[[ทิเบต]] ส่วนชาวพุทธใน[[จีน]]จะนับถือ[[เจ้าแม่กวนอิม]]ที่เป็นภาคหญิงของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แทน

==พระนางตาราปางต่างๆ==
'''พระนางตารา'''เป็น[[พระโพธิสัตว์]]ฝ่ายหญิงในพระ[[พุทธศาสนา]]แบบทิเบต คำว่าตารามาจาก[[ภาษาสันสกฤต]]หมายถึงข้าม การบูชาพระนางเริ่มเมื่อพุทธศตวรรษที่ 8 - 11 ใน[[อินเดีย]]เหนือและแพร่หลายที่สุดในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 17 โดยถือว่าเป็นชายาของ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] ปัจจุบันมีนับถือใน[[ทิเบต]] ส่วนชาวพุทธใน[[จีน]]จะนับถือ[[เจ้าแม่กวนอิม]]ที่เป็นภาคหญิงของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แทน

== ประวัติการนับถือ ==

คาดว่าแนวคิดการนับถือพระนางตาราเริ่มเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 8 และกลายเป็นพระโพธิสัตว์ที่มีผู้นับถือแพร่หลายในพุทธศตวรรษที่ 13-17 มีผู้นับถือมากในทิเบต เนปาล และ[[มองโกเลีย]] เชื่อกันว่าแนวคิดการบูชาพระนางตาราเริ่มขึ้นในอินเดียเพื่อต่อต้านพิธีกรรมสตี

พระนางตาราได้รับการยกย่องว่าเป็นมารดาของ[[พระพุทธเจ้า]]และพระโพธิสัตว์ทั้งหลายในด้านของกรุณา ภาพลักษณ์ของพระนางส่วนหนึ่งจีนตนาการมาจาก[[พระนางสิริมหามายาเทวี]] มารดาของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน


== กำเนิดและรูปลักษณ์ ==
ตำนานทางพุทธศาสนา[[มหายาน]]กล่าวว่าพระนางตาราเกิดจากน้ำตาของ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]] เมื่อมองเห็นว่าสัตว์โลกมีแต่ความทุกข์ เมื่อน้ำตาของพระองค์ไหลลงมาจนกลายเป็น[[ทะเลสาบ]] จึงเกิดดอกบัวขึ้น และในดอกบัวนั้นมีพระนางตาราสถิตย์อยู่ ตำนานบางฉบับกล่าวว่า พระนางตาราเกิดจากรังสีธรรมของ[[พระอมิตาภะพุทธะ]]

รูปลักษณ์ดั้งเดิมของพระนางตารามี 2 แบบ คือพระนางตาราเขียวมีผู้นับถือมากในทิเบต และพระนางตาราขาวมีผู้นับถือมากในมองโกเลีย เมื่อแนวคิดเกี่ยวกับการบูชาพระนางตาราพัฒนาขึ้น จึงมีการสร้างภาคโกรธและภาคดุขึ้นมาหลายแบบ เช่น พระนางตาราน้ำเงิน อุครตารา เอกชฎะ ภาคเอกชฎะนี้เป็นภาคดุที่แพร่หลายที่สุด กายสีน้ำเงิน มีตาที่สามบนหน้าผาก ตกแต่งร่างกายด้วยงูและพวงมาลัยศีรษะคน เหยียบอยู่บนร่างของคนตาย นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระนางตาราในภาคที่เป็นเทพแห่งความรักหรือเทพแห่งการรักษาโรคอีกด้วย
===พระนางตาราปางต่างๆ===
[[Image:RedTara4.jpg|right|thumb|250px|พระนางตาราแดง]]
ในทิเบต พระนางตารามีหลายปางคือ
ในทิเบต พระนางตารามีหลายปางคือ
* พระนางตาราขาว ทรงชุดขาวล้วน ถือดอกบัวบาน เป็นตัวแทนของความกรุณา มีพระเนตร 7 ดวง หมายถึงเฝ้ามองสรรพสัตว์อยู่ตลอดเวลา พระหัตถ์ขวาประทานพร พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัว และทำ[[มุทรา]]ไตรลักษณ์
* พระนางตาราขาว ทรงชุดขาวล้วน ถือดอกบัวบาน เป็นตัวแทนของความกรุณา มีพระเนตร 7 ดวง หมายถึงเฝ้ามองสรรพสัตว์อยู่ตลอดเวลา พระหัตถ์ขวาประทานพร พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัว และทำ[[มุทรา]]ไตรลักษณ์
บรรทัด 8: บรรทัด 23:
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
* ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. ศูนย์ไทยทิเบต. 2538
* ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. ศูนย์ไทยทิเบต. 2538
* สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะห้าพระองค์. กทม. ศูนย์ไทยธิเบต. 2547
[[หมวดหมู่:พระโพธิสัตว์|ตารา]]
[[หมวดหมู่:พระโพธิสัตว์|ตารา]]
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนาแบบทิเบต]]
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนาแบบทิเบต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:40, 10 กันยายน 2550

พระนางตาราเขียวใน Kumbm, Gyantse, Tibet, 2536

พระนางตาราเป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงในพระพุทธศาสนาแบบทิเบต คำว่าตารามาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงข้าม การบูชาพระนางเริ่มเมื่อพุทธศตวรรษที่ 8 - 11 ในอินเดียเหนือและแพร่หลายที่สุดในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 17 โดยถือว่าเป็นชายาของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ปัจจุบันมีนับถือในทิเบต ส่วนชาวพุทธในจีนจะนับถือเจ้าแม่กวนอิมที่เป็นภาคหญิงของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์แทน

ประวัติการนับถือ

คาดว่าแนวคิดการนับถือพระนางตาราเริ่มเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 8 และกลายเป็นพระโพธิสัตว์ที่มีผู้นับถือแพร่หลายในพุทธศตวรรษที่ 13-17 มีผู้นับถือมากในทิเบต เนปาล และมองโกเลีย เชื่อกันว่าแนวคิดการบูชาพระนางตาราเริ่มขึ้นในอินเดียเพื่อต่อต้านพิธีกรรมสตี

พระนางตาราได้รับการยกย่องว่าเป็นมารดาของพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ทั้งหลายในด้านของกรุณา ภาพลักษณ์ของพระนางส่วนหนึ่งจีนตนาการมาจากพระนางสิริมหามายาเทวี มารดาของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน


กำเนิดและรูปลักษณ์

ตำนานทางพุทธศาสนามหายานกล่าวว่าพระนางตาราเกิดจากน้ำตาของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ เมื่อมองเห็นว่าสัตว์โลกมีแต่ความทุกข์ เมื่อน้ำตาของพระองค์ไหลลงมาจนกลายเป็นทะเลสาบ จึงเกิดดอกบัวขึ้น และในดอกบัวนั้นมีพระนางตาราสถิตย์อยู่ ตำนานบางฉบับกล่าวว่า พระนางตาราเกิดจากรังสีธรรมของพระอมิตาภะพุทธะ

รูปลักษณ์ดั้งเดิมของพระนางตารามี 2 แบบ คือพระนางตาราเขียวมีผู้นับถือมากในทิเบต และพระนางตาราขาวมีผู้นับถือมากในมองโกเลีย เมื่อแนวคิดเกี่ยวกับการบูชาพระนางตาราพัฒนาขึ้น จึงมีการสร้างภาคโกรธและภาคดุขึ้นมาหลายแบบ เช่น พระนางตาราน้ำเงิน อุครตารา เอกชฎะ ภาคเอกชฎะนี้เป็นภาคดุที่แพร่หลายที่สุด กายสีน้ำเงิน มีตาที่สามบนหน้าผาก ตกแต่งร่างกายด้วยงูและพวงมาลัยศีรษะคน เหยียบอยู่บนร่างของคนตาย นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระนางตาราในภาคที่เป็นเทพแห่งความรักหรือเทพแห่งการรักษาโรคอีกด้วย

พระนางตาราปางต่างๆ

ไฟล์:RedTara4.jpg
พระนางตาราแดง

ในทิเบต พระนางตารามีหลายปางคือ

  • พระนางตาราขาว ทรงชุดขาวล้วน ถือดอกบัวบาน เป็นตัวแทนของความกรุณา มีพระเนตร 7 ดวง หมายถึงเฝ้ามองสรรพสัตว์อยู่ตลอดเวลา พระหัตถ์ขวาประทานพร พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัว และทำมุทราไตรลักษณ์
  • พระนางตาราเขียว ทรงชุดเขียวล้วน ถือดอกบัวตูมสีน้ำเงิน ออกโปรดสรรพสัตว์ในเวลากลางคืน
  • พระนางตาราแดง ทรงสีแดงทับทิม หมายถึงความปราถนาของสรรพสัตว์ที่จะหลุดพ้นจากสังสารวัฏ ประทับบนพระอาทิตย์
  • พระนางตาราดำ ทรงสีดำ หมายถึงสุญญตา ซึ่งเป็นความสามารถในการข้ามพ้นอวิชชา ความเห็นผิดต่างๆ

อ้างอิง

  • ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. ศูนย์ไทยทิเบต. 2538
  • สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะห้าพระองค์. กทม. ศูนย์ไทยธิเบต. 2547