ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุกรกิริยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:flagellants.png|right|thumb|200px|การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิด[[แบล็กเดท]]]]
[[File:flagellants.png|right|thumb|200px|การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิด[[แบล็กเดท]]]]
'''ทุกรกิริยา''' ({{lang-pi|ทุกฺกรกิริยา}}; {{lang-en|self-mortification/ mortification of the flesh}}) แปลว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก”<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 575</ref> ใช้ในบริบททาง[[ศาสนา]]และ[[จิตวิญญาณ]] เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อ[[การชำระให้บริสุทธิ์|ชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป]]
'''ทุกรกิริยา''' ({{lang-pi|ทุกฺกรกิริยา}}; {{lang-en|self-mortification/ mortification of the flesh}}) แปลว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก”<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556,และ[[จิตวิญญาณ]] เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อ[[การชำระให้บริสุทธิ์|ชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป]]


“ทุกรกิริยา” อย่างง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่าง เช่น การงดดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะ เช่น ใช้[[ชีวิตอารามวาสี]] หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ขั้นรุนแรงอาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น
“ทุกรกิริยา” อย่างง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่าง เช่น การงดดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะ งดอบายมุขต่างๆนนๆพันนัยเช่น ใช้[[ชีวิตอารามวาสี]] หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ขั้นรุนแรงอาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น


== ศาสนาคริสต์ ==
== ศาสนาคริสต์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:08, 28 สิงหาคม 2560

การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิดแบล็กเดท

ทุกรกิริยา (บาลี: ทุกฺกรกิริยา; อังกฤษ: self-mortification/ mortification of the flesh) แปลว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก”อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ” (โคโลสี 3:5)[1] และ “ผู้ที่อยู่ฝ่ายพระเยซูคริสต์ได้ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขนพร้อมกับราคะและตัณหาแล้ว” (กาลาเทีย 5:24) [2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น