ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| สีพิเศษ = pink
| สีพิเศษ = pink
| ภาพ = ไฟล์:พระองค์เจ้าปราโมช.jpg
| ภาพ = ไฟล์:พระองค์เจ้าปราโมช.jpg
| พระนาม = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ
| พระนาม = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ
| พระนามเต็ม =
| พระนามเต็ม =
| ฐานันดร = พระองค์เจ้าชั้นเอก
| ฐานันดร = พระองค์เจ้าชั้นเอก
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
}}
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ''' พระนามเดิม '''พระองค์เจ้าปราโมช''' พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2359 ทรงเป็นต้น[[:หมวดหมู่:ราชสกุลปราโมช|ราชสกุลปราโมช]]
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ''' พระนามเดิม '''พระองค์เจ้าปราโมช''' เป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]และเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2359 ทรงเป็นต้น[[:หมวดหมู่:ราชสกุลปราโมช|ราชสกุลปราโมช]]


พระองค์เจ้าปราโมช ทรงกำกับราชการ กรมพระนครบาล กรมหมอ กรมช่างเคลือบ ช่างหุงกระจก กรมญวนหก และกรมท่า [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกรมเป็น กรมขุนวรจักรธรานุภาพ เมื่อ พ.ศ. 2410
พระองค์เจ้าปราโมช ทรงกำกับราชการ กรมพระนครบาล กรมหมอ กรมช่างเคลือบ ช่างหุงกระจก กรมญวนหก และกรมท่า ในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2394 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้สถาปนาเป็น'''พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวรจักรธรานุภาพ''' จนถึงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2410 จึงดปรดให้เลื่อนเป็น'''กรมขุนวรจักรธรานุภาพ'''


ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการสถาปนา[[วังหน้า|กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] (วังหน้า) ที่ประชุม อันมี[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน เป็นประธาน ตกลงที่จะแต่งตั้ง[[สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ|กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ]] พระโอรสองค์ใหญ่ของ[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตามคำเสนอของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์]] แต่เรื่องนี้ไม่เป็นมติเอกฉันท์ของที่ประชุม เพราะพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงคัดค้านว่า การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลนั้น ตามโบราณราชประเพณีเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของที่ประชุม ซึ่งทำความไม่พอใจให้แก่สมเด็จเจ้าพระยาฯ ท่านจึงได้ย้อนถามว่า ''ที่ไม่ยอมนั้น อยากจะเป็นเองหรือ'' (ทิพากรวงศ์ 2504, 266-267)
ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการสถาปนา[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] (วังหน้า) ที่ประชุมอันมี[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]] ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน เป็นประธาน ตกลงที่จะแต่งตั้ง[[กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ|กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ]] พระโอรสองค์ใหญ่ของ[[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตามคำเสนอของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์]] แต่เรื่องนี้ไม่เป็นมติเอกฉันท์ของที่ประชุม เพราะพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงคัดค้านว่า การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลนั้น ตามโบราณราชประเพณีเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของที่ประชุม ซึ่งทำความไม่พอใจให้แก่สมเด็จเจ้าพระยาฯ ท่านจึงได้ย้อนถามว่า ''ที่ไม่ยอมนั้น อยากจะเป็นเองหรือ'' (ทิพากรวงศ์ 2504, 266-267)


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก พ.ศ. 2415 พระชนมายุได้ 56 พรรษา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก พ.ศ. 2415 พระชนมายุได้ 56 พรรษา


== พระโอรส-ธิดา ==
== พระโอรส-ธิดา ==
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์หญิงดวงใจ มีพระโอรส-ธิดา 7 องค์ได้แก่
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์หญิงดวงใจ มีพระโอรส-ธิดา 7 องค์ได้แก่
* หม่อมเจ้าเมาฬี (ญ.)
* หม่อมเจ้าเมาฬี (ญ.)
* [[หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช|หม่อมเจ้าฉวีวาด]] (ญ.) อดีตชายาใน[[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร|กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร]]
* [[หม่อมเจ้าฉวีวาด ปราโมช|หม่อมเจ้าฉวีวาด]] (ญ.) อดีตชายาใน[[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร|กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร]]
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 เล่ม 2. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2504.
* ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 เล่ม 2. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2504.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544| ISBN = 974-222-648-2| หน้า = หน้าที่| จำนวนหน้า = 490}}
* {{อ้างหนังสือ
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549| ISBN = 974-221-818-8| หน้า = หน้าที่| จำนวนหน้า = 360}}
| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ
| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544
| ISBN = 974-222-648-2
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 490
}}
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549
| ISBN = 974-221-818-8
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 360
}}


{{ต้นราชสกุลในรัชกาลที่ 2}}
{{ต้นราชสกุลในรัชกาลที่ 2}}
บรรทัด 78: บรรทัด 58:
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{พระราชโอรสราชวงศ์จักรี}}
{{พระราชโอรสราชวงศ์จักรี}}

{{เรียงลำดับ|ปราโมช}}
{{เรียงลำดับ|ปราโมช}}
{{อายุขัย|2359|2415}}
{{ประสูติปี|2359}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2415}}
[[หมวดหมู่:พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2]]
[[หมวดหมู่:พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2]]
[[หมวดหมู่:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 2]]
[[หมวดหมู่:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 2]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:41, 22 สิงหาคม 2560

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ
ไฟล์:พระองค์เจ้าปราโมช.jpg
พระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 2
ประสูติ11 มีนาคม พ.ศ. 2359
สิ้นพระชนม์13 มิถุนายน พ.ศ. 2415
(พระชันษา 56 ปี)
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระมารดาเจ้าจอมมารดาอัมพา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระนามเดิม พระองค์เจ้าปราโมช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2359 ทรงเป็นต้นราชสกุลปราโมช

พระองค์เจ้าปราโมช ทรงกำกับราชการ กรมพระนครบาล กรมหมอ กรมช่างเคลือบ ช่างหุงกระจก กรมญวนหก และกรมท่า ในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สถาปนาเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวรจักรธรานุภาพ จนถึงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2410 จึงดปรดให้เลื่อนเป็นกรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการสถาปนากรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) ที่ประชุมอันมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน เป็นประธาน ตกลงที่จะแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิไชยชาญ พระโอรสองค์ใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตามคำเสนอของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ แต่เรื่องนี้ไม่เป็นมติเอกฉันท์ของที่ประชุม เพราะพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงคัดค้านว่า การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลนั้น ตามโบราณราชประเพณีเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของที่ประชุม ซึ่งทำความไม่พอใจให้แก่สมเด็จเจ้าพระยาฯ ท่านจึงได้ย้อนถามว่า ที่ไม่ยอมนั้น อยากจะเป็นเองหรือ (ทิพากรวงศ์ 2504, 266-267)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก พ.ศ. 2415 พระชนมายุได้ 56 พรรษา

พระโอรส-ธิดา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์หญิงดวงใจ มีพระโอรส-ธิดา 7 องค์ได้แก่

และยังมีพระโอรส-ธิดาที่มิได้ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์หญิงดวงใจ เช่น

  • หม่อมเจ้าปรีดา (ช.) ต่อมาได้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา
  • หม่อมเจ้าดำรง (ช.)
  • หม่อมเจ้าคอย (ญ.)
  • หม่อมเจ้ากรรมสิทธิ์ (ช.)
  • หม่อมเจ้าไขศรี (ญ.)
  • หม่อมเจ้ามารศรี (ญ.) เสกสมรสกับหม่อมเจ้าวิทยา[1]
  • หม่อมเจ้าดำเกิง (ช.) ต่อมาได้เป็น หม่อมเจ้าพระดำเกิง[2]

อ้างอิง

  1. สุจิตต์ วงษ์เทศ (12 มิถุนายน 2559). "เจ้าจอมมารดาอำภา ใน ร.2 เล่นตัวนางกาญจหนา ในละครอิเหนา". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พระราชทานเพลิง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 12 (9): 73–74. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2438. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  • ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 เล่ม 2. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2504.
  • ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  • ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8