ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุทซ์ชตัฟเฟิล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
|agency_type = [[กำลังกึ่งทหาร]]
|agency_type = [[กำลังกึ่งทหาร]]
|parent_agency = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]]
|parent_agency = {{flagicon|Nazi Germany|Nazi}} [[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]]
|child1_agency = ''[[อัลเกอมาน เอ็สเอ็ส]]''
|child1_agency = ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส ]]''
|child2_agency = ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (''[[SS-Verfügungstruppe]]'')
|child2_agency = ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (''[[SS-Verfügungstruppe]]'')
|child3_agency = ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ]]''
|child3_agency = ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ]]''
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
}}
}}
{{นาซี}}
{{นาซี}}
'''''ชุทซ์ชทัฟเฟิล''''' ({{lang-de|''Schutzstaffel''}} [[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) หรือ '''''เอ็สเอ็ส''''' (SS) เป็นองค์กร[[กำลังกึ่งทหาร]]สังกัด[[พรรคนาซี]]ภายใต้คำสั่งของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] เดิมมีชื่อองค์กรว่า ''ซาล-ซุทซ์'' (''Saal-Schutz'') ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมือง[[มิวนิก]] เมื่อ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น ''ชุทซ์ชทัฟเฟิล'' เอ็สเอ็สภายใต้การนำของฮิมเลอร์ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมัน หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์
'''ชุทซ์ชทัฟเฟิล''' ({{lang-de|''Schutzstaffel''}} หมายถึง "กองอารักขา" หรือ "เหล่าคุ้มกัน", ย่อเป็น SS หรือซิก ([[ไฟล์:Schutzstaffel SS SVG1.1.svg|16px|"ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน]]) ในอักษรรูนอาร์มาเนน ([[Armanen runes]]) เป็นองค์การ[[กำลังกึ่งทหาร|กึ่งทหาร]]หลักภายใต้[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]และ[[พรรคนาซี]] ก่อตั้งขึ้นบนอุดมการณ์นาซี เอ็สเอ็สภายใต้บังคับบัญชาของ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]มีส่วนรับผิดชอบต่อ[[อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ]]หลายครั้งระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] หลัง ค.ศ. 1945 เอ็สเอ็สถูกกฎหมายต้องห้ามในเยอรมนี เช่นเดียวกับพรรคนาซี โดยถูกระบุว่าเป็นองค์กรอาชญากรรม


เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลักๆ คือ ''[[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่างๆของพรรคนาซี และ ''[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]'' (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ ''[[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ]]'' (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการ[[ค่ายมรณะ]]และ[[ค่ายกักกันนาซี]] เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า ''[[เกสตาโป]]'' กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ[[ฟือเรอร์]]ที่เรียกว่า ''[[ซีเชอร์ไฮท์สดีนสท์]]'' ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งในและต่างประเทศ
==ประวัติการก่อตั้ง==
เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "ซาล-ชุทซ์" (อารักษ์หอประชุม) ตั้งใจให้เกิดความปลอดภัยแก่การประชุมของพรรคนาซี และเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์<ref>Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974</ref> แต่เนื่องจากช่วงแรกของการก้าวขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองของฮิตแลอร์นั้นยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองทัพเยอรมนีอย่างเต็มที่ ซึ่งตัวฮิตเลอร์เองก็ไม่ได้ไว้วางใจกองทัพเยอรมันว่า จงรักภักดีกับเขาอย่างเต็มที่หรือไม่ รวมทั้ง[[ชตูร์มับไทลุง]] (เอ็สเอ, "เสื้อน้ำตาล" หรือ "พลรบวายุ") ซึ่งเดิมนี้คือแหล่งชุมนุมของเหล่าทหารผ่านศึกใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] และ อดีตหน่วยเสรีเยอรมัน โดยมี[[ร้อยเอก]] [[แอนสท์ เริม]] เป็นผู้บังคับบัญชา


== ประวัติ ==
ต่อมา มีเหตุทำให้ฮิตเลอร์และฮิมม์เลอร์ร่วมมือกันกำจัดแอร์นสท์ เริม และหน่วยเอ็สเอ และตั้งซาล-ชุทซ์เป็นหน่วยคุ้มกันทดแทนหน่วยเอ็สเอภายใต้การนำของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ระหว่าง ค.ศ. 1929 และ 1945 เอ็สเอ็สถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ชุทซ์ชทัฟเฟิล" และเติบโตขึ้นจากรูปแบบหน่วยกึ่งทหารขนาดเล็กเป็นหนึ่งในองค์การที่ใหญ่และทรงอำนาจที่สุดใน[[นาซีเยอรมนี]]
เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "''ซาล-ชุทซ์''" (อารักษ์หอประชุม) เพื่อรักษาความปลอดภัยในการประชุมของพรรคนาซีตลอดจนเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของฮิตเลอร์<ref>Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974</ref> ต่อมาในปีค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจพร้อมกับความเคลือบแคลงใจในความภักดีของกองทัพเยอรมันที่มีต่อเขา กองกำลังที่เขาไว้ใจได้อย่างเต็มร้อยและจะไม่มีวันทรยศเขาอย่างเอ็สเอ็สจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการรักษาฐานอำนาจของฮิตเลอร์ อย่างไรก็ตาม พรรคนาซียังมีองค์กรติดอาวุธอีกองค์กรหนึ่งที่ชื่อว่า ''[[ชตูร์มับไทลุง]]'' อันเป็นแหล่งสุมหัวของอดีตทหารใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ซึ่งนำโดย[[แอนสท์ เริม]] สหายเก่าแก่ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคนาซี

แอนสท์ เริม มีความคิดที่จะสถาปนาเอ็สเอเป็นขั้วอำนาจทางการเมืองใหม่และเข้าควบคุม[[ไรชส์เวร์]] และเริมยังสนับสนุนแนวคิด "การปฏิวัติครั้งที่สอง" ในเยอรมัน ความคิดเช่นนี้ของเริมให้ประธานาธิบดี[[เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก|ฮินเดนบูร์ก]]กดดันฮิตเลอร์ให้ยุบเอ็สเอ ฮิตเลอร์พยายามเจรจากับ[[แอนสท์ เริม]] ให้ยุบหน่วยเอ็สเอโดยดีแต่ก็ไม่ได้รับความร่วมมือ จึงนำไปสู่การกวาดล้างเอ็สเอใน[[คืนมีดยาว]]ในสิ้นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1934 เมื่อแอนสท์ เริม ถูกกำจัด ฮิตเลอร์ก็แต่งตั้งให้เอ็สเอ็สของ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์|ฮิมม์เลอร์]]ทำหน้าที่คุ้มกันแทนเอ็สเอ


==การคัดเลือก==
==การคัดเลือก==
การคัดเลือกทหารที่จะมาเข้าหน่วยเอ็สเอ็สจะต้องเป็นชายสายเลือดเยอรมันพันธุ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอ็สเอ็สจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนียวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุดมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่[[นาซีเยอรมนี|ไรช์ที่สาม]] รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทั้งหมดให้เข้าหน่วย[[ยุวชนฮิตเลอร์]]เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอ็สเอ็ส
การคัดเลือกสมาชิกที่จะมาเข้าหน่วยเอ็สเอ็สจะต้องเป็นชายสายเลือดเยอรมันพันธุ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอ็สเอ็สจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนียวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุดมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่[[นาซีเยอรมนี|ไรช์ที่สาม]] รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทั้งหมดให้เข้าหน่วย[[ยุวชนฮิตเลอร์]]เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอ็สเอ็ส


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 61: บรรทัด 63:
* [[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]
* [[อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส]]
* [[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ|หน่วยหัวกะโหลก-เอ็สเอ็ส]]
* [[เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ|หน่วยหัวกะโหลก-เอ็สเอ็ส]]

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}
บรรทัด 66: บรรทัด 69:
== เชิงอรรถ ==
== เชิงอรรถ ==
{{refbegin|30em}}
{{refbegin|30em}}
* Art, David (2006). ''The Politics of the Nazi Past in Germany and Austria''. Cambridge University Press. ISBN 0-521-85683-3
* Baranowski, Shelley (2010). ''Nazi Empire: German Colonialism and Imperialism from Bismarck to Hitler''. New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-52167-408-9
* Bessel, Richard. ''Nazism and War''. New York: Modern Library, 2006. ISBN 978-0-81297-557-4
* Bishop, Chris (2005). ''Hitler's Foreign Divisions: 1940–45''. Amber. ISBN 978-1-904687-37-5.
* Bishop, Chris (2007). ''Waffen-SS Divisions: 1939–45''. Amber. ISBN 1-905704-55-0.
* Burleigh, Michael, and Wolfgang Wippermann (1991). ''The Racial State: Germany 1933-1945''. Cambridge & New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-52139-802-2
* Burleigh, Michael (2010). ''Moral Combat: Good and Evil in World War II''. New York: Harper Collins. ISBN 978-0-06058-097-1
* Cook, Stan & Bender, Roger James (1994). ''Leibstandarte SS Adolf Hitler: Uniforms, Organization, & History''. San Jose, CA: R. James Bender Publishing. ISBN 978-0-912138-55-8.
* Fischer, Klaus (1995). ''Nazi Germany: A New History''. New York: Continuum. ISBN 978-0-82640-797-9
* Himmler, Heinrich (1936). ''Die Schutzstaffel als antibolschewistische Kampforganisation'' [The SS as an Anti-bolshevist Fighting Organization]. Munich: Franz Eher Nachfolger.
* Höhne, Heinz (2001). ''The Order of the Death’s Head: The Story of Hitler’s SS''. New York: Penguin Press. ISBN 978-0-14139-012-3
* International Military Tribunal (IMT) (1947–49). ''Record of the Nuremberg Trials November 14, 1945 – October 1, 1946''. 42 Vols. London: HMSO.
* Leitz, Christian, ed. (1999). ''The Third Reich: The Essential Readings''. Oxford: Wiley-Blackwell. ISBN 978-0-63120-700-9
* Lumsden, Robin (1997). ''Himmler's Black Order 1923–45''. Sutton. ISBN 0-7509-1396-7.
* Lumsden, Robin (2000). ''A Collector's Guide To: The Waffen-SS''. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2285-2.
* Lumsden, Robin (2002). ''A Collector's Guide To: The Allgemeine-SS''. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2905-9.
* Lumsden, Robin (2002). ''A Collector's Guide To: The Allgemeine-SS''. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2905-9.
* MacDonogh, Giles (2009). ''After the Reich: The Brutal History of the Allied Occupation''. New York: Basic Books. ISBN 978-0-46500-337-2
* MacDonogh, Giles (2009). ''After the Reich: The Brutal History of the Allied Occupation''. New York: Basic Books. ISBN 978-0-46500-337-2
บรรทัด 96: บรรทัด 84:
* Yerger, Mark C. (1997). ''Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS''. Schiffer Publishing. ISBN 0-7643-0145-4.
* Yerger, Mark C. (1997). ''Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS''. Schiffer Publishing. ISBN 0-7643-0145-4.
{{refend}}
{{refend}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.axishistory.com/axis-nations/germany-a-austria/waffen-ss Waffen SS] Personal website from Sweden.
* [http://www.axishistory.com/axis-nations/germany-a-austria/waffen-ss Waffen SS] Personal website from Sweden.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:37, 20 สิงหาคม 2560

ชุทซ์ชทัฟเฟิล
Schutzstaffel
ธงชุทซ์ชทัฟเฟิล

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ตรวจ ไลป์สตันดาร์ท เอ็สเอ็ส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ครั้งเยือนเมืองคลาเกินฟวร์ท เมษายน ค.ศ. 1938 ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ ยืนอยู่ทางขวาข้างหลังฮิตเลอร์
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง4 เมษายน ค.ศ. 1925
หน่วยงานก่อนหน้า
ยุบเลิก8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
ประเภทกำลังกึ่งทหาร
เขตอำนาจนาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี
ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง
สำนักงานใหญ่SS-Hauptamt, Prinz-Albrecht-Straße, เบอร์ลิน
52°30′26″N 13°22′57″E / 52.50722°N 13.38250°E / 52.50722; 13.38250
บุคลากร1,250,000 (c. กุมภาพันธ์ 1945)
รัฐมนตรี
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
ต้นสังกัดนาซีเยอรมนี พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน
ลูกสังกัด

ชุทซ์ชทัฟเฟิล ([Schutzstaffel] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปีค.ศ. 1925 ก็มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยเป็น ชุทซ์ชทัฟเฟิล เอ็สเอ็สภายใต้การนำของฮิมเลอร์ได้ขยายตัวจากมีสมาชิกสองร้อยคนกลายเป็นองค์กรขนาดมหึมาที่มีสมาชิกกว่าล้านคนและกลายเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีอิทธิพลที่สุดในเยอรมัน หน้าที่ขององค์กรนี้คือสอดส่องดูแลความมั่นคงภายในไรช์

เอ็สเอ็สมีการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนงานหลักๆ คือ อัลล์เกอไมเนอ เอ็สเอ็ส (เอ็สเอ็สธุรการ) รับผิดชอบด้านการบังคับใช้นโยบายต่างๆของพรรคนาซี และ วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส (เอ็สเอ็สติดอาวุธ) เป็นกองกำลังติดอาวุธที่ไม่ขึ้นกับกองทัพ นอกจากนี้ยังมีส่วนงานอื่นอีก คือ เอ็สเอ็ส-โทเทนคอฟเฟอร์แบนเดอ (หน่วยหัวกะโหลกเอ็สเอ็ส) รับผิดชอบการดำเนินการค่ายมรณะและค่ายกักกันนาซี เอ็สเอ็สยังมีหน่วยตำรวจลับที่เรียกว่า เกสตาโป กับหน่วยรักษาความปลอดภัยประจำฟือเรอร์ที่เรียกว่า ซีเชอร์ไฮท์สดีนสท์ ที่คอยส่องหาบุคคลที่เป็นหรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อรัฐนาซี ตลอดจนรับผิดชอบงานข่าวกรองทั้งในและต่างประเทศ

ประวัติ

เอ็สเอ็สก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1925 ภายใต้ชื่อ "ซาล-ชุทซ์" (อารักษ์หอประชุม) เพื่อรักษาความปลอดภัยในการประชุมของพรรคนาซีตลอดจนเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของฮิตเลอร์[1] ต่อมาในปีค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจพร้อมกับความเคลือบแคลงใจในความภักดีของกองทัพเยอรมันที่มีต่อเขา กองกำลังที่เขาไว้ใจได้อย่างเต็มร้อยและจะไม่มีวันทรยศเขาอย่างเอ็สเอ็สจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการรักษาฐานอำนาจของฮิตเลอร์ อย่างไรก็ตาม พรรคนาซียังมีองค์กรติดอาวุธอีกองค์กรหนึ่งที่ชื่อว่า ชตูร์มับไทลุง อันเป็นแหล่งสุมหัวของอดีตทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งซึ่งนำโดยแอนสท์ เริม สหายเก่าแก่ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคนาซี

แอนสท์ เริม มีความคิดที่จะสถาปนาเอ็สเอเป็นขั้วอำนาจทางการเมืองใหม่และเข้าควบคุมไรชส์เวร์ และเริมยังสนับสนุนแนวคิด "การปฏิวัติครั้งที่สอง" ในเยอรมัน ความคิดเช่นนี้ของเริมให้ประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กกดดันฮิตเลอร์ให้ยุบเอ็สเอ ฮิตเลอร์พยายามเจรจากับแอนสท์ เริม ให้ยุบหน่วยเอ็สเอโดยดีแต่ก็ไม่ได้รับความร่วมมือ จึงนำไปสู่การกวาดล้างเอ็สเอในคืนมีดยาวในสิ้นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1934 เมื่อแอนสท์ เริม ถูกกำจัด ฮิตเลอร์ก็แต่งตั้งให้เอ็สเอ็สของฮิมม์เลอร์ทำหน้าที่คุ้มกันแทนเอ็สเอ

การคัดเลือก

การคัดเลือกสมาชิกที่จะมาเข้าหน่วยเอ็สเอ็สจะต้องเป็นชายสายเลือดเยอรมันพันธุ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอ็สเอ็สจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนียวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุดมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่ไรช์ที่สาม รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทั้งหมดให้เข้าหน่วยยุวชนฮิตเลอร์เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอ็สเอ็ส

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kogon, Eugen; Der SS-Staat; 1974

เชิงอรรถ

  • Lumsden, Robin (2002). A Collector's Guide To: The Allgemeine-SS. Ian Allan Publishing, Inc. ISBN 0-7110-2905-9.
  • MacDonogh, Giles (2009). After the Reich: The Brutal History of the Allied Occupation. New York: Basic Books. ISBN 978-0-46500-337-2
  • McNab, Chris (2009). The SS: 1923–1945. Amber Books. ISBN 978-1-906626-49-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Mollo, Andrew (1991). Uniforms of the SS: Volume 3: SS-Verfügungstruppe. Historical Research Unit. ISBN 1-872004-51-2.
  • Mühlenberg, Jutta (2011). Das SS-Helferinnenkorps: Ausbildung, Einsatz und Entnazifizierung der weiblichen Angehörigen der Waffen-SS, 1942–1949. Hamburg: Hamburger Edition HIS VerlagsgesmbH. Retrievable from: https://download.e-bookshelf.de/download/0000/3731/67/L-G-0000373167-0002317697.pdf ISBN 978-3-86854-500-5
  • Murray, Williamson, and Allan R. Millett (2001). A War To Be Won: Fighting the Second World War. Cambridge, MA: Belknap Press of Harvard University Press. ISBN 978-0-67400-680-5
  • "Organizations Book of the NSDAP for 1943", NCA, V, Washington, D.C. 1946: U.S. GPO, 1943
  • Rabinbach, Anson, and Sander L. Gilman (2013). The Third Reich Sourcebook. Berkeley & Los Angeles: University of California Press. ISBN 978-0-52020-867-4
  • Rummel, Rudolph (1992). Democide: Nazi Genocide and Mass Murder. New Brunswick, NJ: Transaction Publishers. ISBN 1-56000-004-X
  • Sereny, Gitta (1974). Into That Darkness: From Mercy Killings to Mass Murder. Republished (1983) as Into That Darkness: An Examination of Conscience. New York: Vintage. ISBN 0-394-71035-5
  • Stein, George H. (1984). The Waffen SS: Hitler's Elite Guard at War, 1939–1945. Cornell University Press. ISBN 0-8014-9275-0.
  • Weale, Adrian (2010). The SS: A New History. London: Little, Brown. ISBN 978-1-4087-0304-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Williams, Max (2001). Reinhard Heydrich: The Biography: Volume 1. Ulric Publishing. ISBN 0-9537577-5-7.
  • Yerger, Mark C. (1997). Allgemeine-SS: The Commands, Units, and Leaders of the General SS. Schiffer Publishing. ISBN 0-7643-0145-4.

แหล่งข้อมูลอื่น