ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:DE Band mit RK (1).jpg|150px|thumb|เหรียญกล้าหาญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน]]
{{ระวังสับสน|กางเขนเหล็ก}}
{{ระวังสับสน|กางเขนเหล็ก}}
'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน''' ({{lang-de|Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า'''กางเขนอัศวิน''' (''{{lang|de|Ritterkreuz}}'') และเป็นสิ่งที่เป็นการมอบรางวัลปูนบำเหน็จอย่างสูงสุดในกองทัพและกองกำลังกึ่งทหารของ[[นาซีเยอรมนี]]ในช่วงระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน''' ({{lang-de|''Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes''}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า '''กางเขนอัศวิน''' (''{{lang|de|Ritterkreuz}}'') เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของ[[นาซีเยอรมนี]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของ[[เวร์มัคท์]] ([[กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)|''เฮร์'']], ''[[ครีกซมารีเนอ]]'' และ''[[ลุฟท์วัฟเฟอ]]'') ตลอดจนสมาชิกของหน่วย[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]], [[กองแรงงานไรช์]] และ[[โฟล์คสชทูร์ม]] บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม


[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อ[[การบุกครองโปแลนด์|เยอรมันเข้ารุกรานโปแลนด์]] มีลักษณะตามแบบอย่างของ[[กางเขนเหล็ก]]ซึ่งใช้ในกองทัพเยอรมันมาตั้งแต่สมัย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] ต่อมาในปีค.ศ. 1940 ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกหนึ่งขั้น คือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค'' และต่อมาในค.ศ. 1941 ก็ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกสองขั้นคือ ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ'' กับขั้น ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร และมีการสถาปนาขั้นพิเศษขึ้นในปี ค.ศ. 1944 เรียกว่า ''อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชรเคลือบทอง''
เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน เป็นรางวัลสำหรับความหลากหลายของเหตุผลและการก้าวข้ามยศตำแหน่งทั้งหมด,จากผู้บัญชาการอาวุโสที่มีทักษะความเป็นผู้นำของกองกำลังของเขาในการรบแก่ทหารระดับยศต่ำจากการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเด็ดเดี่ยวของความกล้าหาญในสนามรบ.การนำเสนอสร้างขึ้นเพื่อแก่สมาชิกในสามเหล่าทัพของ[[เวร์มัคท์|กองทัพเวร์มัคท์]] ได้แก่ [[เฮร์]] (กองทัพบก),[[ครีกซมารีเนอ]], (กองทัพเรือ) และ[[ลุฟท์วัฟเฟอ]] (กองทัพอากาศ),เช่นเดียวกับ[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส|วัฟเฟิน-เอสเอส]],''Reichsarbeitsdienst (RAD-Reich Labour Service) และ''[[โฟล์คสชทูร์ม]] (กองทหารอาสาชาติเยอรมัน),พร้อมกับบุคลากรจาก[[ฝ่ายอักษะ]]อื่นๆ.

รางวัลนี้ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน ปี 1939, เมื่อเยอรมันได้ทำการ[[การบุกครองโปแลนด์|รุกรานโปแลนด์]],'''''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ดระดับขั้นสูง'''''ถูกสร้างขึ้นในปี 1940.สองระดับขั้นสูงในกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ดถูกสร้างขึ้นตามมาทีหลังคือ'''''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ดและดาบ'''''และ'''''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด, ดาบและเพชร.''''' ช่วงท้ายในปี 1944 กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ดระดับขั้นสุดท้าย ดาบและเพชรแบบเคลือบด้วยทอง,ถูกสร้างขึ้น.

รางวัลทั้งหมด 7,000 ชิ้น นับตั้งแต่เปิดตัวเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 กันยายน ปี 1939,ด้วยการวิเคราะห์ของ[[บุนเดิสอาร์ชีฟ|หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมัน]](German Federal Archives)ได้เปิดเผยสำหรับหลักฐานของผู้ได้รับรางวัลเหรียญนี้อย่างเป็นทางการกว่า 7,161 ราย.หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันได้ยืนยันว่ารางวัล 863 ชิ้นของเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด,พร้อมกับดาบ 174 ชิ้นและเพชร 27 ชิ้น.ส่วนกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด, ดาบและเพชรแบบเคลือบด้วยทองได้มอบรางวัลเพียงชิ้นเดียวเท่านั้นสำหรับแก่[[ฮันส์-อูริช รูเดิล]] เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ปี 1944.


หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันระบุว่ามีผู้ได้รับบำเหน็จนี้อย่างเป็นทางการรวม 7,161 ราย ในจำนวนนี้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นขั้นอัศวินและขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คจำนวน 863 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบจำนวน 147 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร จำนวน 27 ราย ส่วนขั้นเคลือบทองขั้นมีการมอบให้แก่บุคคลเดียวคือ[[Hans-Ulrich Rudel|พันเอก ฮันส์-อัลริช รูเดิล]] แห่งลุฟท์วัฟเฟอ
==ระดับขั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน==
==ระดับขั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน==
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน'''(Knight's Cross)
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน'''(Knight's Cross)
บรรทัด 16: บรรทัด 12:
Image:DE Band mit RK (1).jpg|เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
Image:DE Band mit RK (1).jpg|เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
</gallery>
</gallery>
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด'''(Knight's Cross with Oak Leaves)
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค'''(Knight's Cross with Oak Leaves)
<gallery class="center">
<gallery class="center">
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves.svg|แพรแถบย่อ
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves.svg|แพรแถบย่อ
บรรทัด 23: บรรทัด 19:
Image:Eichenlaub zum Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes Detailaufnahme.jpg|ส่วนย่อย
Image:Eichenlaub zum Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes Detailaufnahme.jpg|ส่วนย่อย
</gallery>
</gallery>
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด และดาบ'''(Knight's Cross with Oak Leaves and Swords)
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค และดาบ'''(Knight's Cross with Oak Leaves and Swords)
<gallery class="center">
<gallery class="center">
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves and Swords.svg|แพรแถบย่อ
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross With Oak Leaves and Swords.svg|แพรแถบย่อ
บรรทัด 29: บรรทัด 25:
Image:BmRKELS.jpg|เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด และดาบ
Image:BmRKELS.jpg|เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด และดาบ
</gallery>
</gallery>
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด, ดาบและเพชร'''(Knight's Cross with Oak Leaves, Swords and Diamonds)
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชร'''(Knight's Cross with Oak Leaves, Swords and Diamonds)
<gallery class="center">
<gallery class="center">
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|แพรแถบย่อ
File:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|แพรแถบย่อ
บรรทัด 36: บรรทัด 32:
Image:Helmut Lent Diamonds.jpg|ตราเข็มกลัดเพชรของ [[Helmut Lent]], [[พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์กองทัพบุนเดซเวร์]].
Image:Helmut Lent Diamonds.jpg|ตราเข็มกลัดเพชรของ [[Helmut Lent]], [[พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์กองทัพบุนเดซเวร์]].
</gallery>
</gallery>
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ด, ดาบและเพชรแบบเคลือบทอง'''(Knight's Cross with Golden Oak Leaves, Swords and Diamonds)
*'''กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชรแบบเคลือบทอง'''(Knight's Cross with Golden Oak Leaves, Swords and Diamonds)
<gallery class="center" classes="center">
<gallery class="center" classes="center">
ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|แพรแถบย่อ
ไฟล์:Ribbon of Knight's Cross of the Iron Cross in Gold With Oak Leaves,Swords and Diamonds.png|แพรแถบย่อ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:57, 31 กรกฎาคม 2560

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน ([Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือเรียกอีกอย่างว่า กางเขนอัศวิน (Ritterkreuz) เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของเวร์มัคท์ (เฮร์, ครีกซมารีเนอ และลุฟท์วัฟเฟอ) ตลอดจนสมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส, กองแรงงานไรช์ และโฟล์คสชทูร์ม บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อเยอรมันเข้ารุกรานโปแลนด์ มีลักษณะตามแบบอย่างของกางเขนเหล็กซึ่งใช้ในกองทัพเยอรมันมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรปรัสเซีย ต่อมาในปีค.ศ. 1940 ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกหนึ่งขั้น คือ อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค และต่อมาในค.ศ. 1941 ก็ได้มีการสถาปนาเพิ่มอีกสองขั้นคือ อัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ กับขั้น อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร และมีการสถาปนาขั้นพิเศษขึ้นในปี ค.ศ. 1944 เรียกว่า อัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชรเคลือบทอง

หอจดหมายเหตุแห่งชาติเยอรมันระบุว่ามีผู้ได้รับบำเหน็จนี้อย่างเป็นทางการรวม 7,161 ราย ในจำนวนนี้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นขั้นอัศวินและขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คจำนวน 863 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบจำนวน 147 ราย, ขั้นอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบ และเพชร จำนวน 27 ราย ส่วนขั้นเคลือบทองขั้นมีการมอบให้แก่บุคคลเดียวคือพันเอก ฮันส์-อัลริช รูเดิล แห่งลุฟท์วัฟเฟอ

ระดับขั้นของกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน

  • กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน(Knight's Cross)
  • กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค(Knight's Cross with Oak Leaves)
  • กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค และดาบ(Knight's Cross with Oak Leaves and Swords)
  • กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชร(Knight's Cross with Oak Leaves, Swords and Diamonds)
  • กางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊ค, ดาบและเพชรแบบเคลือบทอง(Knight's Cross with Golden Oak Leaves, Swords and Diamonds)

อ้างอิง

  • Fellgiebel, Walther-Peer (2000) [1986]. Die Träger des Ritterkreuzes des Eisernen Kreuzes 1939–1945 — Die Inhaber der höchsten Auszeichnung des Zweiten Weltkrieges aller Wehrmachtteile [The Bearers of the Knight's Cross of the Iron Cross 1939–1945 — The Owners of the Highest *Award of the Second World War of all Wehrmacht Branches] (in German). Friedberg, Germany: Podzun-Pallas. ISBN 978-3-7909-0284-6.
  • Maerz, Dietrich (2007). Das Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes und seine Höheren Stufen (in German). Richmond, MI: B&D Publishing LLC. ISBN 978-0-9797969-1-3.
  • Maerz, Dietrich (2007) "The Knights Cross of the Iron Cross and its Higher Grades" (in English), Richmind, MI, B&D Publishing LLC, ISBN 978-0-9797969-0-6.
  • Potempa, Harald (2003). Das Eiserne Kreuz—Zur Geschichte einer Auszeichnung (in German). Luftwaffenmuseum der Bundeswehr Berlin-Gatow.
  • Schaulen, Fritjof (2003). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe I Abraham – Huppertz [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color I Abraham – Huppertz] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-20-1.
  • Schaulen, Fritjof (2004). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe II Ihlefeld - Primozic [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color II Ihlefeld - Primozic] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-21-8.
  • Schaulen, Fritjof (2005). Eichenlaubträger 1940 – 1945 Zeitgeschichte in Farbe III Radusch – Zwernemann [Oak Leaves Bearers 1940 – 1945 Contemporary History in Color III Radusch – Zwernemann] (in German). Selent, Germany: Pour le Mérite. ISBN 978-3-932381-22-5.
  • Scherzer, Veit (2007). Die Ritterkreuzträger 1939–1945 Die Inhaber des Ritterkreuzes des Eisernen Kreuzes 1939 von Heer, Luftwaffe, Kriegsmarine, Waffen-SS, Volkssturm sowie mit Deutschland verbündeter Streitkräfte nach den Unterlagen des Bundesarchives [The Knight's Cross *Bearers 1939–1945 The Holders of the Knight's Cross of the Iron Cross 1939 by Army, Air Force, Navy, Waffen-SS, Volkssturm and Allied Forces with Germany According to the Documents of the Federal Archives] (in German). Jena, Germany: Scherzers Miltaer-Verlag. ISBN 978-3-938845-17-2.